#ข่าวทั่วไทย #TNN ช่อง16
นางสาววงศ์อะเคื้อ บุญศล โฆษกกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอี) ฝ่ายการเมือง เปิดเผยว่า ในช่วงวันที่ 11 – 17 พฤศจิกายน 2567 ที่ผ่านมา ศูนย์ AOC 1441 (Anti Online Scam Operation Center) ได้มีรายงานเคสตัวอย่างอาชญากรรมออนไลน์ที่ประชาชนได้รับผลกระทบจากการถูกหลอกลวง จำนวน 5 เคส ประกอบด้วย คดีที่ 1 คดีข่มขู่ทางโทรศัพท์ให้เกิดความกลัวแล้วหลอกให้โอนเงิน (Call Center) มูลค่าความเสียหาย 2,982,000 บาท โดยผู้เสียหายได้รับการติดต่อจากมิจฉาชีพผ่านทางโทรศัพท์ อ้างตนเป็นเจ้าหน้าที่ตำรวจป้องกันและปราบปรามยาเสพติด แจ้งว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับการลักลอบค้ายาเสพติดจากคำซัดทอดของผู้ต้องหา จากนั้นได้เพิ่มเพื่อนทาง Line มีการสนทนาผ่าน VDO Call และขอตรวจสอบเส้นทางการเงินในบัญชี หากไม่ให้ความร่วมมือจะมีความผิดตามกฎหมาย ตนหลงเชื่อ จึงให้ความร่วมมือและโอนเงินไป ภายหลังการโอนเงินเสร็จไม่สามารถติดต่อได้อีก ผู้เสียหายเชื่อว่าตนเองถูกมิจฉาชีพหลอก คดีที่ 2 คดีหลอกลวงให้โอนเงินเพื่อทำงานหารายได้พิเศษ มูลค่าความเสียหาย 652,068 บาท โดยผู้เสียหายได้รับการติดต่อจากมิจฉาชีพผ่านทางโทรศัพท์ อ้างตนว่าเป็นเจ้าหน้าที่ Shopee ชักชวนทำงานหารายได้พิเศษ ตนสนใจจากนั้นเพิ่มเพื่อน ทาง Line มิจฉาชีพแจ้งให้ตนเลือกสินค้าเพื่อนำมาโพรโมต ช่วงระหว่างรอสินค้ามีกิจกรรมให้เข้าร่วมเป็นการโอนเงินลงทุน ช่วงแรกได้รับผลตอบแทนจริง ภายหลังตนลงทุนเพิ่มมากขึ้นแต่ไม่ได้รับเงิน มิจฉาชีพแจ้งว่าตนทำรายการผิดพลาด ต้องโอนเงินเพิ่มเพื่อให้ทางระบบเปิดให้ทำการแก้ไข ผู้เสียหายเชื่อว่าตนเองถูกมิจฉาชีพหลอก คดีที่ 3 คดีหลอกลวงให้ลงทุนผ่านระบบคอมพิวเตอร์ มูลค่าความเสียหาย 441,978 บาท โดยผู้เสียหายได้พบโฆษณารับสอนเทรดหุ้นผ่านช่องทาง Tiktok ตนสนใจจึงเพิ่มเพื่อนทาง Line เพื่อสอบถามรายละเอียดและสมัครสมาชิก จากนั้นมิจฉาชีพให้ตนทดลองเทรดหุ้น โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายและสามารถถอนเงินออกมาได้ ต่อมามีการดึงข้า Group Line และให้ลงทุนเทรดหุ้นเพิ่ม รอบแรกได้เงินคืน ภายหลังลงทุนเพิ่มมากขึ้นแต่ไม่สามารถ ถอนเงินได้ มิจฉาชีพแจ้งว่าตนทำรายการผิดพลาดจะต้องโอนเงินไปเพื่อให้ทางระบบ เปิดให้ทำการแก้ไข หลังจากโอนเงินเสร็จยังไม่สามารถถอนเงินได้ ผู้เสียหายเชื่อว่าตนเอง ถูกมิจฉาชีพหลอก คดีที่ 4 คดีหลอกลวงให้ลงทุนผ่านระบบคอมพิวเตอร์ มูลค่าความเสียหาย 414,570 บาท ทั้งนี้ ผ
อ่านต่อ >231
#TNN เจาะข่าว #TNN ช่อง16
การคลี่คลายคดีที่สร้างความสะเทือนขวัญเริ่มต้นจากเหตุการณ์วันที่ 14 เมษายน 2566 เมื่อ น.ส.ศิริพร ขันวงษ์ หรือ "ก้อย" อายุ 32 ปี หายตัวไปหลังไปทำบุญและปล่อยปลาที่บริเวณริมแม่น้ำแม่กลอง อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี ครอบครัวพยายามตามหาทุกช่องทาง จนกระทั่งพบการเสียชีวิตของเธอที่ริมท่าน้ำในเวลาต่อมาในวันที่ 15-16 เมษายน 2566 ครอบครัวของผู้เสียชีวิตพบว่าทรัพย์สินหลายรายการหายไป ทั้งรถยนต์ กระเป๋าแบรนด์เนมมูลค่าประมาณ 40,000 บาท และโทรศัพท์มือถือ 2 เครื่อง นำไปสู่การตรวจสอบกล้องวงจรปิดที่พบภาพผู้เสียชีวิตเดินทางไปกับหญิงสาวเสื้อสีขาวเจ้าหน้าที่ตำรวจได้จับกุม นางสรารัตน์ รังสิตวุฒาภรณ์ เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2566 ที่ศูนย์ราชการแจ้งวัฒนะ ในข้อหาฆ่าผู้อื่นโดยไตร่ตรองไว้ก่อน และในวันถัดมา (26 เมษายน 2566) ได้นำตัวไปฝากขังที่ศาลอาญา โดยผู้ต้องหาให้การปฏิเสธข้อกล่าวหาวันที่ 30 มิถุนายน 2566 มีการแถลงสรุปคดี พร้อมดำเนินคดีในข้อหาต่างๆ รวมกว่า 75 ข้อหา ประกอบด้วย พยายามฆ่าผู้อื่น ฆ่าผู้อื่นโดยไตร่ตรองไว้ก่อน ชิงทรัพย์โดยเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย และปลอมปนอาหารต่อมาวันที่ 18 กรกฎาคม 2566 พนักงานอัยการยื่นฟ้องผู้ต้องหากับพวกต่อศาลอาญา การพิจารณาคดีใช้เวลากว่าหนึ่งปี มีการสืบพยานและรวบรวมหลักฐานอย่างละเอียด โดยในวันที่ 2 ตุลาคม 2566 ศาลนัดตรวจพยานหลักฐานในคดี และทั้งสามจำเลยให้การปฏิเสธข้อกล่าวหาวันที่ 17 กันยายน 2567 ศาลมีนัดสืบพยานฝ่ายจำเลย แต่จำเลยที่ 1 ปฏิเสธที่จะเบิกความ ทำให้ศาลต้องพิจารณาจากพยานหลักฐานของโจทก์เป็นหลัก จนกระทั่งวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ศาลอาญามีคำพิพากษาประหารชีวิตจำเลยที่ 1 ส่วนจำเลยที่ 2 ได้รับโทษจำคุก 1 ปี 4 เดือน และจำเลยที่ 3 ได้รับโทษจำคุก 2 ปี โดยไม่รอลงอาญา พร้อมให้ชดใช้ค่าเสียหายแก่โจทก์ร่วมจำนวน 2 ล้านบาทคดีนี้นับเป็นหนึ่งในคดีสำคัญที่แสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าของกระบวนการสืบสวนสอบสวนของไทย โดยมีการสอบปากคำพยานกว่า 900 ปาก รวบรวมเอกสารเกี่ยวกับคดีถึง 26,500 แผ่น และใช้ทั้งหลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์ พยานแวดล้อม และการสืบสวนทางการเงิน เพื่อนำผู้กระทำความผิดมาเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมภาพ Freepik
อ่านต่อ >18
#ข่าวทั่วไทย #TNN ช่อง16
วันที่ 20 พฤศจิกายน ที่ห้องพิจารณาคดีหมายเลข 713 ศาลอาญา ได้มีการอ่านคำพิพากษาคดีที่พนักงานอัยการฝ่ายคดีอาญา 5 และมารดาผู้เสียชีวิตเป็นโจทก์ร่วมฟ้อง แอม ไซยาไนด์ อายุ 36 ปี เป็นจำเลยที่ 1 , ตำรวจยศพันตำรวจโท อายุ 40 ปี เป็นจำเลยที่ 2 และ ทนายพัช อายุ 36 ปี เป็นจำเลยที่ 3 ศาลพิจารณาพยานหลักฐานแล้วเห็นว่า เมื่อวันที่ 14 เมษายน พุทธศักราช 2566 จำเลยที่ 1 ได้นำสารโพแทสเซียมไซยาไนด์ปลอมปนในอาหาร หรือ เครื่องดื่มให้ ก้อย อายุ 32 ปี รับประทาน ระหว่างเดินทางไปปล่อยปลาที่ท่าน้ำ ตำบลบ้านโป่ง อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี เป็นเหตุให้ผู้ตายเสียชีวิต และได้นำทรัพย์สินของผู้ตายมูลค่า 154,630 บาท ไปซ่อนเร้น โดยมีจำเลยที่ 2 และ 3 ช่วยเหลือในการปกปิดหลักฐานศาลพิพากษาว่า จำเลยที่ 1 มีความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยไตร่ตรองไว้ก่อน เพื่อตระเตรียมการหรือเพื่อสะดวกในการกระทำความผิดอื่น, ชิงทรัพย์เป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย และปลอมปนอาหาร จึงพิพากษาลงโทษประหารชีวิต ส่วนจำเลยที่ 2 และ 3 มีความผิดฐานช่วยเหลือผู้กระทำความผิดและซ่อนเร้นทำลายหลักฐาน ให้จำคุกคนละ 2 ปี โดยจำเลยที่ 2 ได้ให้การเป็นประโยชน์จึงลดโทษให้ 1 ใน 3 คงจำคุก 1 ปี 4 เดือน นอกจากนี้ศาลยังสั่งให้ชดใช้ค่าเสียหายแก่โจทก์ร่วมจำนวน 2,400,000 บาทเศษทั้งนี้ ศาลใช้เวลาในการอ่านคำพิพากษาประมาณ 3 ชั่วโมงเศษ ตั้งแต่เวลา 09.30 น. ถึง 12.30 น. โดยก่อนการอ่านคำพิพากษา ศาลได้สั่งให้ใส่กุญแจมือจำเลยทั้งสามราย ซึ่งจำเลยทั้งหมดมีสีหน้าเคร่งเครียดระหว่างฟังคำพิพากษา
อ่านต่อ >13
#ข่าวการเงิน การลงทุน #ทันหุ้น
คลังเตรียมปรับเกณฑ์ผู้มีสิทธิถือบัตรคนจนปี 68 นัดถกคณะทำงานเพื่อวางกรอบ 21พ.ย.นี้ ก่อนที่จะเปิดให้มีการลงทะเบียนในช่วงเดือนมี.ค.68
#ทันหุ้น นายจุลพันธ์ อมรวิวัฒน์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลังเปิดเผยว่า ในวันที่ 21 พ.ย.นี้ ได้นัดประชุม คณะกรรมการประชารัฐสวัสดิการเพื่อเศรษฐกิจฐานรากและสังคม เพื่อเตรียมทบทวนเกณฑ์การลงทะเบียนผู้ถือบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ รอบใหม่ ที่จะมีขึ้นราวเดือนมี.ค.2568 ซึ่งเบื้องต้น ตนจะสั่งการให้ไปดูเกณฑ์ต่างๆว่ามีอะไรที่ต้องปรับปรุง เช่น เรื่องเกณฑ์ที่ดิน ที่ยังมีปัญหา เป็นต้น
“การประชุมในครั้งนี้ คงไม่ได้สรุปจบในครั้งเดียว อาจจะมีการประชุมต่อเนื่องเรื่อยๆ และเรื่องนี้ไม่ได้รีบร้อนอะไร เพราะการเปิดลงทะเบียนบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ รอบใหม่ คือช่วงเดือนมี.ค. 2568”
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า สำหรับการเปิดลงทะเบียนโครงการบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ล่าสุด คือเมื่อวันที่ 5 กันยายน- 31 ตุลาคม 2565 เพื่อเป็นการทบทวนผู้มีสิทธิเข้าร่วมโครงการใหม่ ทั้งนี้ ตามโครงการเดิมเมื่อปี 2560-2561มีผู้ได้รับสิทธิประมาณ 14.9 ล้านคน ส่วนปัจจุบันมีผู้ได้รับสิทธิ ประมาณ 13.5 ล้านคน สาเหตุที่จำนวนลดลงนั้น เนื่องจากผู้มีสิทธิเสียชีวิต
ส่วนคุณสมบัติของผู้มีสิทธิในโครงการบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ที่มีการเปลี่ยนแปลงสำคัญ คือ เพิ่มการตรวจสอบคุณสมบัติของครอบครัว โดยเฉพาะเรื่องรายได้ เช่น กรณีผู้ลงทะเบียน เป็นแม่บ้าน ไม่มีรายได้จากการทำงาน แต่หาก สามีมีรายได้หรือทรัพย์สินที่สามารถดูแลได้ทั้งครัวเรือน โดยนำรายได้มาหารเฉลี่ยในต่อหัวของคนในครอบครัวแล้ว ยังเกินเส้นที่กระทรวงการคลังตั้งขึ้น รายได้ 1 แสนบาทต่อคนต่อปี ผู้ลงทะเบียนที่เป็นแม่บ้านก็จะไม่ผ่านเกณฑ์
ทั้งนี้ คุณสมบัติบุคคลที่ลงทะเบียนยังคงเดิม คือ1.ต้องเป็นบุคคลสัญชาติไทย 2.อายุ 18 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป 3.ต้องไม่เป็นภิกษุ สามเณร ผู้ต้องขัง บุคคลที่อยู่ในสถานสงเคราะห์ ข้าราชการ พนักงานราชการ ผู้รับบำเหน็จรายเดือน ผู้รับบำนาญ ข้าราชการการเมือง รวมถึง สส. และ สว. ด้วย 4.มีรายได้คนละไม่เกิน 100,000 บาทต่อปี และภายในครอบครัว มีรายได้เฉลี่ยไม่เกิน 100,000 บาทต่อคนต่อปี
5.ทรัพย์สินทางการเงิน ได้แก่ เงินฝาก พันธบัตร ตราสารหนี้ต่าง ๆ ต้องไม่เกิน 100,000 บาทต่อคน ครอบครัวไม่เกิน 100,000 บาทต่อคนต่อปีเช่นเดียวกัน 6.ไม่มีวงเงินกู้เกินที่กำหนด กรณีส
อ่านต่อ >11
#ข่าวทั่วไทย #TNN ช่อง16
นางสาววงศ์อะเคื้อ บุญศล โฆษกกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอี) ฝ่ายการเมือง เปิดเผยว่า ในช่วงวันที่ 11 – 17 พฤศจิกายน 2567 ที่ผ่านมา ศูนย์ AOC 1441 (Anti Online Scam Operation Center) ได้มีรายงานเคสตัวอย่างอาชญากรรมออนไลน์ที่ประชาชนได้รับผลกระทบจากการถูกหลอกลวง จำนวน 5 เคส ประกอบด้วย คดีที่ 1 คดีข่มขู่ทางโทรศัพท์ให้เกิดความกลัวแล้วหลอกให้โอนเงิน (Call Center) มูลค่าความเสียหาย 2,982,000 บาท โดยผู้เสียหายได้รับการติดต่อจากมิจฉาชีพผ่านทางโทรศัพท์ อ้างตนเป็นเจ้าหน้าที่ตำรวจป้องกันและปราบปรามยาเสพติด แจ้งว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับการลักลอบค้ายาเสพติดจากคำซัดทอดของผู้ต้องหา จากนั้นได้เพิ่มเพื่อนทาง Line มีการสนทนาผ่าน VDO Call และขอตรวจสอบเส้นทางการเงินในบัญชี หากไม่ให้ความร่วมมือจะมีความผิดตามกฎหมาย ตนหลงเชื่อ จึงให้ความร่วมมือและโอนเงินไป ภายหลังการโอนเงินเสร็จไม่สามารถติดต่อได้อีก ผู้เสียหายเชื่อว่าตนเองถูกมิจฉาชีพหลอก คดีที่ 2 คดีหลอกลวงให้โอนเงินเพื่อทำงานหารายได้พิเศษ มูลค่าความเสียหาย 652,068 บาท โดยผู้เสียหายได้รับการติดต่อจากมิจฉาชีพผ่านทางโทรศัพท์ อ้างตนว่าเป็นเจ้าหน้าที่ Shopee ชักชวนทำงานหารายได้พิเศษ ตนสนใจจากนั้นเพิ่มเพื่อน ทาง Line มิจฉาชีพแจ้งให้ตนเลือกสินค้าเพื่อนำมาโพรโมต ช่วงระหว่างรอสินค้ามีกิจกรรมให้เข้าร่วมเป็นการโอนเงินลงทุน ช่วงแรกได้รับผลตอบแทนจริง ภายหลังตนลงทุนเพิ่มมากขึ้นแต่ไม่ได้รับเงิน มิจฉาชีพแจ้งว่าตนทำรายการผิดพลาด ต้องโอนเงินเพิ่มเพื่อให้ทางระบบเปิดให้ทำการแก้ไข ผู้เสียหายเชื่อว่าตนเองถูกมิจฉาชีพหลอก คดีที่ 3 คดีหลอกลวงให้ลงทุนผ่านระบบคอมพิวเตอร์ มูลค่าความเสียหาย 441,978 บาท โดยผู้เสียหายได้พบโฆษณารับสอนเทรดหุ้นผ่านช่องทาง Tiktok ตนสนใจจึงเพิ่มเพื่อนทาง Line เพื่อสอบถามรายละเอียดและสมัครสมาชิก จากนั้นมิจฉาชีพให้ตนทดลองเทรดหุ้น โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายและสามารถถอนเงินออกมาได้ ต่อมามีการดึงข้า Group Line และให้ลงทุนเทรดหุ้นเพิ่ม รอบแรกได้เงินคืน ภายหลังลงทุนเพิ่มมากขึ้นแต่ไม่สามารถ ถอนเงินได้ มิจฉาชีพแจ้งว่าตนทำรายการผิดพลาดจะต้องโอนเงินไปเพื่อให้ทางระบบ เปิดให้ทำการแก้ไข หลังจากโอนเงินเสร็จยังไม่สามารถถอนเงินได้ ผู้เสียหายเชื่อว่าตนเอง ถูกมิจฉาชีพหลอก คดีที่ 4 คดีหลอกลวงให้ลงทุนผ่านระบบคอมพิวเตอร์ มูลค่าความเสียหาย 414,570 บาท ทั้งนี้ ผ
อ่านต่อ >231
#TNN เจาะข่าว #TNN ช่อง16
การคลี่คลายคดีที่สร้างความสะเทือนขวัญเริ่มต้นจากเหตุการณ์วันที่ 14 เมษายน 2566 เมื่อ น.ส.ศิริพร ขันวงษ์ หรือ "ก้อย" อายุ 32 ปี หายตัวไปหลังไปทำบุญและปล่อยปลาที่บริเวณริมแม่น้ำแม่กลอง อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี ครอบครัวพยายามตามหาทุกช่องทาง จนกระทั่งพบการเสียชีวิตของเธอที่ริมท่าน้ำในเวลาต่อมาในวันที่ 15-16 เมษายน 2566 ครอบครัวของผู้เสียชีวิตพบว่าทรัพย์สินหลายรายการหายไป ทั้งรถยนต์ กระเป๋าแบรนด์เนมมูลค่าประมาณ 40,000 บาท และโทรศัพท์มือถือ 2 เครื่อง นำไปสู่การตรวจสอบกล้องวงจรปิดที่พบภาพผู้เสียชีวิตเดินทางไปกับหญิงสาวเสื้อสีขาวเจ้าหน้าที่ตำรวจได้จับกุม นางสรารัตน์ รังสิตวุฒาภรณ์ เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2566 ที่ศูนย์ราชการแจ้งวัฒนะ ในข้อหาฆ่าผู้อื่นโดยไตร่ตรองไว้ก่อน และในวันถัดมา (26 เมษายน 2566) ได้นำตัวไปฝากขังที่ศาลอาญา โดยผู้ต้องหาให้การปฏิเสธข้อกล่าวหาวันที่ 30 มิถุนายน 2566 มีการแถลงสรุปคดี พร้อมดำเนินคดีในข้อหาต่างๆ รวมกว่า 75 ข้อหา ประกอบด้วย พยายามฆ่าผู้อื่น ฆ่าผู้อื่นโดยไตร่ตรองไว้ก่อน ชิงทรัพย์โดยเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย และปลอมปนอาหารต่อมาวันที่ 18 กรกฎาคม 2566 พนักงานอัยการยื่นฟ้องผู้ต้องหากับพวกต่อศาลอาญา การพิจารณาคดีใช้เวลากว่าหนึ่งปี มีการสืบพยานและรวบรวมหลักฐานอย่างละเอียด โดยในวันที่ 2 ตุลาคม 2566 ศาลนัดตรวจพยานหลักฐานในคดี และทั้งสามจำเลยให้การปฏิเสธข้อกล่าวหาวันที่ 17 กันยายน 2567 ศาลมีนัดสืบพยานฝ่ายจำเลย แต่จำเลยที่ 1 ปฏิเสธที่จะเบิกความ ทำให้ศาลต้องพิจารณาจากพยานหลักฐานของโจทก์เป็นหลัก จนกระทั่งวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ศาลอาญามีคำพิพากษาประหารชีวิตจำเลยที่ 1 ส่วนจำเลยที่ 2 ได้รับโทษจำคุก 1 ปี 4 เดือน และจำเลยที่ 3 ได้รับโทษจำคุก 2 ปี โดยไม่รอลงอาญา พร้อมให้ชดใช้ค่าเสียหายแก่โจทก์ร่วมจำนวน 2 ล้านบาทคดีนี้นับเป็นหนึ่งในคดีสำคัญที่แสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าของกระบวนการสืบสวนสอบสวนของไทย โดยมีการสอบปากคำพยานกว่า 900 ปาก รวบรวมเอกสารเกี่ยวกับคดีถึง 26,500 แผ่น และใช้ทั้งหลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์ พยานแวดล้อม และการสืบสวนทางการเงิน เพื่อนำผู้กระทำความผิดมาเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมภาพ Freepik
อ่านต่อ >18
#ข่าวทั่วไทย #TNN ช่อง16
วันที่ 20 พฤศจิกายน ที่ห้องพิจารณาคดีหมายเลข 713 ศาลอาญา ได้มีการอ่านคำพิพากษาคดีที่พนักงานอัยการฝ่ายคดีอาญา 5 และมารดาผู้เสียชีวิตเป็นโจทก์ร่วมฟ้อง แอม ไซยาไนด์ อายุ 36 ปี เป็นจำเลยที่ 1 , ตำรวจยศพันตำรวจโท อายุ 40 ปี เป็นจำเลยที่ 2 และ ทนายพัช อายุ 36 ปี เป็นจำเลยที่ 3 ศาลพิจารณาพยานหลักฐานแล้วเห็นว่า เมื่อวันที่ 14 เมษายน พุทธศักราช 2566 จำเลยที่ 1 ได้นำสารโพแทสเซียมไซยาไนด์ปลอมปนในอาหาร หรือ เครื่องดื่มให้ ก้อย อายุ 32 ปี รับประทาน ระหว่างเดินทางไปปล่อยปลาที่ท่าน้ำ ตำบลบ้านโป่ง อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี เป็นเหตุให้ผู้ตายเสียชีวิต และได้นำทรัพย์สินของผู้ตายมูลค่า 154,630 บาท ไปซ่อนเร้น โดยมีจำเลยที่ 2 และ 3 ช่วยเหลือในการปกปิดหลักฐานศาลพิพากษาว่า จำเลยที่ 1 มีความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยไตร่ตรองไว้ก่อน เพื่อตระเตรียมการหรือเพื่อสะดวกในการกระทำความผิดอื่น, ชิงทรัพย์เป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย และปลอมปนอาหาร จึงพิพากษาลงโทษประหารชีวิต ส่วนจำเลยที่ 2 และ 3 มีความผิดฐานช่วยเหลือผู้กระทำความผิดและซ่อนเร้นทำลายหลักฐาน ให้จำคุกคนละ 2 ปี โดยจำเลยที่ 2 ได้ให้การเป็นประโยชน์จึงลดโทษให้ 1 ใน 3 คงจำคุก 1 ปี 4 เดือน นอกจากนี้ศาลยังสั่งให้ชดใช้ค่าเสียหายแก่โจทก์ร่วมจำนวน 2,400,000 บาทเศษทั้งนี้ ศาลใช้เวลาในการอ่านคำพิพากษาประมาณ 3 ชั่วโมงเศษ ตั้งแต่เวลา 09.30 น. ถึง 12.30 น. โดยก่อนการอ่านคำพิพากษา ศาลได้สั่งให้ใส่กุญแจมือจำเลยทั้งสามราย ซึ่งจำเลยทั้งหมดมีสีหน้าเคร่งเครียดระหว่างฟังคำพิพากษา
อ่านต่อ >13
#ข่าวการเงิน การลงทุน #ทันหุ้น
คลังเตรียมปรับเกณฑ์ผู้มีสิทธิถือบัตรคนจนปี 68 นัดถกคณะทำงานเพื่อวางกรอบ 21พ.ย.นี้ ก่อนที่จะเปิดให้มีการลงทะเบียนในช่วงเดือนมี.ค.68
#ทันหุ้น นายจุลพันธ์ อมรวิวัฒน์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลังเปิดเผยว่า ในวันที่ 21 พ.ย.นี้ ได้นัดประชุม คณะกรรมการประชารัฐสวัสดิการเพื่อเศรษฐกิจฐานรากและสังคม เพื่อเตรียมทบทวนเกณฑ์การลงทะเบียนผู้ถือบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ รอบใหม่ ที่จะมีขึ้นราวเดือนมี.ค.2568 ซึ่งเบื้องต้น ตนจะสั่งการให้ไปดูเกณฑ์ต่างๆว่ามีอะไรที่ต้องปรับปรุง เช่น เรื่องเกณฑ์ที่ดิน ที่ยังมีปัญหา เป็นต้น
“การประชุมในครั้งนี้ คงไม่ได้สรุปจบในครั้งเดียว อาจจะมีการประชุมต่อเนื่องเรื่อยๆ และเรื่องนี้ไม่ได้รีบร้อนอะไร เพราะการเปิดลงทะเบียนบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ รอบใหม่ คือช่วงเดือนมี.ค. 2568”
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า สำหรับการเปิดลงทะเบียนโครงการบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ล่าสุด คือเมื่อวันที่ 5 กันยายน- 31 ตุลาคม 2565 เพื่อเป็นการทบทวนผู้มีสิทธิเข้าร่วมโครงการใหม่ ทั้งนี้ ตามโครงการเดิมเมื่อปี 2560-2561มีผู้ได้รับสิทธิประมาณ 14.9 ล้านคน ส่วนปัจจุบันมีผู้ได้รับสิทธิ ประมาณ 13.5 ล้านคน สาเหตุที่จำนวนลดลงนั้น เนื่องจากผู้มีสิทธิเสียชีวิต
ส่วนคุณสมบัติของผู้มีสิทธิในโครงการบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ที่มีการเปลี่ยนแปลงสำคัญ คือ เพิ่มการตรวจสอบคุณสมบัติของครอบครัว โดยเฉพาะเรื่องรายได้ เช่น กรณีผู้ลงทะเบียน เป็นแม่บ้าน ไม่มีรายได้จากการทำงาน แต่หาก สามีมีรายได้หรือทรัพย์สินที่สามารถดูแลได้ทั้งครัวเรือน โดยนำรายได้มาหารเฉลี่ยในต่อหัวของคนในครอบครัวแล้ว ยังเกินเส้นที่กระทรวงการคลังตั้งขึ้น รายได้ 1 แสนบาทต่อคนต่อปี ผู้ลงทะเบียนที่เป็นแม่บ้านก็จะไม่ผ่านเกณฑ์
ทั้งนี้ คุณสมบัติบุคคลที่ลงทะเบียนยังคงเดิม คือ1.ต้องเป็นบุคคลสัญชาติไทย 2.อายุ 18 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป 3.ต้องไม่เป็นภิกษุ สามเณร ผู้ต้องขัง บุคคลที่อยู่ในสถานสงเคราะห์ ข้าราชการ พนักงานราชการ ผู้รับบำเหน็จรายเดือน ผู้รับบำนาญ ข้าราชการการเมือง รวมถึง สส. และ สว. ด้วย 4.มีรายได้คนละไม่เกิน 100,000 บาทต่อปี และภายในครอบครัว มีรายได้เฉลี่ยไม่เกิน 100,000 บาทต่อคนต่อปี
5.ทรัพย์สินทางการเงิน ได้แก่ เงินฝาก พันธบัตร ตราสารหนี้ต่าง ๆ ต้องไม่เกิน 100,000 บาทต่อคน ครอบครัวไม่เกิน 100,000 บาทต่อคนต่อปีเช่นเดียวกัน 6.ไม่มีวงเงินกู้เกินที่กำหนด กรณีส
อ่านต่อ >11
#ข่าวทั่วไทย #TNN ช่อง16
นางสาววงศ์อะเคื้อ บุญศล โฆษกกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอี) ฝ่ายการเมือง เปิดเผยว่า ในช่วงวันที่ 11 – 17 พฤศจิกายน 2567 ที่ผ่านมา ศูนย์ AOC 1441 (Anti Online Scam Operation Center) ได้มีรายงานเคสตัวอย่างอาชญากรรมออนไลน์ที่ประชาชนได้รับผลกระทบจากการถูกหลอกลวง จำนวน 5 เคส ประกอบด้วย คดีที่ 1 คดีข่มขู่ทางโทรศัพท์ให้เกิดความกลัวแล้วหลอกให้โอนเงิน (Call Center) มูลค่าความเสียหาย 2,982,000 บาท โดยผู้เสียหายได้รับการติดต่อจากมิจฉาชีพผ่านทางโทรศัพท์ อ้างตนเป็นเจ้าหน้าที่ตำรวจป้องกันและปราบปรามยาเสพติด แจ้งว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับการลักลอบค้ายาเสพติดจากคำซัดทอดของผู้ต้องหา จากนั้นได้เพิ่มเพื่อนทาง Line มีการสนทนาผ่าน VDO Call และขอตรวจสอบเส้นทางการเงินในบัญชี หากไม่ให้ความร่วมมือจะมีความผิดตามกฎหมาย ตนหลงเชื่อ จึงให้ความร่วมมือและโอนเงินไป ภายหลังการโอนเงินเสร็จไม่สามารถติดต่อได้อีก ผู้เสียหายเชื่อว่าตนเองถูกมิจฉาชีพหลอก คดีที่ 2 คดีหลอกลวงให้โอนเงินเพื่อทำงานหารายได้พิเศษ มูลค่าความเสียหาย 652,068 บาท โดยผู้เสียหายได้รับการติดต่อจากมิจฉาชีพผ่านทางโทรศัพท์ อ้างตนว่าเป็นเจ้าหน้าที่ Shopee ชักชวนทำงานหารายได้พิเศษ ตนสนใจจากนั้นเพิ่มเพื่อน ทาง Line มิจฉาชีพแจ้งให้ตนเลือกสินค้าเพื่อนำมาโพรโมต ช่วงระหว่างรอสินค้ามีกิจกรรมให้เข้าร่วมเป็นการโอนเงินลงทุน ช่วงแรกได้รับผลตอบแทนจริง ภายหลังตนลงทุนเพิ่มมากขึ้นแต่ไม่ได้รับเงิน มิจฉาชีพแจ้งว่าตนทำรายการผิดพลาด ต้องโอนเงินเพิ่มเพื่อให้ทางระบบเปิดให้ทำการแก้ไข ผู้เสียหายเชื่อว่าตนเองถูกมิจฉาชีพหลอก คดีที่ 3 คดีหลอกลวงให้ลงทุนผ่านระบบคอมพิวเตอร์ มูลค่าความเสียหาย 441,978 บาท โดยผู้เสียหายได้พบโฆษณารับสอนเทรดหุ้นผ่านช่องทาง Tiktok ตนสนใจจึงเพิ่มเพื่อนทาง Line เพื่อสอบถามรายละเอียดและสมัครสมาชิก จากนั้นมิจฉาชีพให้ตนทดลองเทรดหุ้น โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายและสามารถถอนเงินออกมาได้ ต่อมามีการดึงข้า Group Line และให้ลงทุนเทรดหุ้นเพิ่ม รอบแรกได้เงินคืน ภายหลังลงทุนเพิ่มมากขึ้นแต่ไม่สามารถ ถอนเงินได้ มิจฉาชีพแจ้งว่าตนทำรายการผิดพลาดจะต้องโอนเงินไปเพื่อให้ทางระบบ เปิดให้ทำการแก้ไข หลังจากโอนเงินเสร็จยังไม่สามารถถอนเงินได้ ผู้เสียหายเชื่อว่าตนเอง ถูกมิจฉาชีพหลอก คดีที่ 4 คดีหลอกลวงให้ลงทุนผ่านระบบคอมพิวเตอร์ มูลค่าความเสียหาย 414,570 บาท ทั้งนี้ ผ
อ่านต่อ >231