
# โควิด-19 # มติชน
วันนี้ (22 มกราคม 2564) ที่กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) รศ.(พิเศษ)นพ.ทวี โชติพิทยสุนนท์ นายกสมาคมโรคติดเชื้อเด็กแห่งประเทศไทย ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ และที่ปรึกษากรมควบคุมโรค เปิดเผยถึงการบริหารจัดการวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โควิด19 ว่า วัคซีนจากบริษัท แอสตร้าเซนเนก้า ที่จะเข้ามาในประเทศไทยล็อตแรก จำนวน 50,000 โดส ในต้นเดือนกุมภาพันธ์นี้ จะดำเนินการฉีดในกลุ่มบุคลากรสาธารณสุข ด้านหน้าของการทำงานป้องกันโควิด19 ในพื้นที่เสี่ยง ได้แก่ 1.จ.สมุทรสาคร 2.อ.แม่สอด จ.ตาก และ 3.จังหวัดในภาคใต้ที่มีขอบชายแดนติดกับประเทศเพื่อนบ้าน โดยจะฉีดให้ครบทั้ง 50,000 โดส
“ทั้งนี้ ตามแผนเดิมของไทยที่จะฉีดเข็ม 2 จะต้องห่างจากเข็มแรก เป็นเวลา 4 สัปดาห์ แต่ข้อมูลจากบริษัทแอสตร้าเซนเนก้า พบว่าการฉีดในต่างประเทศ การเว้นระยะห่าง 812 สัปดาห์ กลับให้ผลดีกว่าการฉีดห่างกัน 4 สัปดาห์ ดังนั้น หากวัคซีนที่จะทยอยส่งมาให้กับไทยนั้น จึงสามารถฉีดได้ในช่วงนี้เช่นกัน ทางการแพทย์เราอยากให้ฉีดเข็มที่ 2 ห่างกัน 812 สัปดาห์ เพื่อแบ่งไปให้คนอื่นฉีดด้วย แต่ยังไงก็ต้องฉีดเข็มที่ 2 เพราะเราไม่รู้ว่าภูมิตกเมื่อไร แต่จากการศึกษาพบว่า หลังจากฉีดเข็มแรก ป้องกันได้ถึงร้อยละ 6070 ดังนั้น เราปล่อยให้เข็มแรกกระตุ้นไปก่อน สมมติว่าเชื้อมาแล้ว ตามทฤษฎีแล้ว เชื้อนั้นก็จะกลายเป็นเข็มที่ 2 แต่หากฉีดเข็มที่ 2 ก็จะต้องป้องกันขึ้นไปอีกร้อยละ 8090 แล้วก็จะเริ่มตก เป็นธรรมดาของวัคซีน” รศ.(พิเศษ)นพ.ทวี กล่าว
รศ.(พิเศษ)นพ.ทวี กล่าวว่า ส่วนการป้องกันโรคด้วยวัคซีนนั้น สามารถทำได้ตามประสิทธิภาพของวัคซีน ขณะเดียวกัน เชื้อก็ยังสามารถเข้าไปและติดเชื้อได้ เช่น ป้องกันร้อยละ 70 ก็ยังมีช่องโหว่อีกร้อยละ 30 แต่ในส่วนนี้จะเป็นชนิดที่ไม่มีอาการก็จะแพร่เชื้อน้อย ซึ่งข้อมูลตรงนี้จะมีการศึกษาต่อ และประเทศไทยหลังจากฉีดแล้ว ก็จะมีการศึกษาด้วย อะไรที่สามารถต่อยอดได้ เราก็จะต่อยอด
ผู้สื่อข่าวถามว่า มีการตั้งคำถามว่าเหตุใดถึงเลือกบริษัทแอสตร้าเซนเนก้าเพียงแห่งเดียว รศ.(พิเศษ)นพ.ทวี กล่าวว่า การเจราจาเยอะมาก แต่เขาไม่เอาเรา เพราะบริษัทผู้ผลิตต้องการให้มีการจองจำนวนมาก แล้ววางเงิน จึงจะยอมขึ้นทะเบียนในไทย รวมถึงบางแห่งที่คาดว่า จะได้วัคซีนในเดือนตุลาคมนี้ ซึ่งไม่ทันการณ์ ขณะที่ก็มีวัคซีนตัวอื่นเริ่มได้ผล ดั
อ่านต่อ >16

# โควิด-19 # ข่าวสด
ด่วน! กทม.ตรวจคนเสี่ยงสูงใกล้ชิด ‘ดีเจมะตูม’ พบติดโควิดเพิ่มอีก 5 ราย คาดกรณีนี้จะไม่ทำให้เกิดการแพร่ระบาดในวงกว้าง ขอให้ประชาชนอย่าตื่นตระหนก
เมื่อวันที่ 22 ม.ค. ที่ศาลาว่าการกทม. พล.ต.ท.โสภณ พิสุทธิวงษ์ รองผู้ว่าฯกทม. ในฐานะผู้อำนวยการศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด19) กรุงเทพมหานคร (ศบค.กทม.) เป็นประธานการประชุม ศบค.กทม. ครั้งที่ 13 โดยมีคณะผู้บริหารกรุงเทพมหานคร ผู้แทนสำนัก ผู้แทนบช.น. ผู้แทน กอ.รมน.กทม. ผู้แทนกลุ่มเขต และผู้แทนส่วนราชการในสังกัดกรุงเทพมหานครที่เกี่ยวข้อง ร่วมประชุม
พล.ต.ท.โสภณ กล่าวว่า ตามที่คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร ได้มีประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่องปิดสถานที่เป็นการชั่วคราว (ฉบับที่ 17) โดยผ่อนปรนให้สามารถเปิดสถานประกอบการ 13 ประเภทได้ ตั้งแต่วันที่ 22 ม.ค.เป็นต้นไป ขอให้คณะทำงานด้านการประสานงานการดูแลความสงบเรียบร้อย ซึ่งมีสำนักเทศกิจเป็นเลขานุการคณะทำงาน ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ สำนักงานเขตพื้นที่ กองบัญชาการตำรวจนครบาล กอ.รมน. เป็นต้น เข้มงวดตรวจตราสถานประกอบการ กิจการ กิจกรรม ที่ได้รับการผ่อนปรนให้สามารถเปิดกิจการได้ เพื่อให้คำแนะนำให้ปฏิบัติตามมาตรการมาตรการป้องกันโรคตามที่ทางราชการกำหนดเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด–19 แนบท้ายประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่องสั่งปิดสถานที่เป็นการชั่วคราว (ฉบับที่ 17) ดังกล่าวอย่างเคร่งครัด
หากพบว่าสถานประกอบการใดยังปฏิบัติได้ไม่ครบถ้วน ขอให้แนะนำ ตักเตือน แต่หากยังคงฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามให้ครบถ้วน ให้สั่งปิดกิจการเป็นการชั่วคราว 14 วัน เพื่อให้ปรับปรุงการปฏิบัติให้ครบถ้วนต่อไป รวมทั้งขอให้สำนักงานเขตประสานสถานประกอบการที่มีแรงงานต่างด้าวผิดกฎหมาย ขอให้แนะนำให้นำแรงงานต่างด้าวดังกล่าวไปขึ้นทะเบียนให้ถูกต้อง และให้สถานประกอบการทำประกันสุขภาพให้แรงงานต่างด้าวทุกคน ในส่วนสถานที่ให้บริการจัดเลี้ยง สถานที่จัดเลี้ยง รวมถึงสถานที่อื่นใดที่มีลักษณะทำนองเดียวกัน ขอให้ผู้เกี่ยวข้องทั้งผู้ตรวจแนะนำ ผู้ให้บริการ และผู้ใช้บริการในสถานที่ดังกล่าว ศึกษาประกาศฯ และมาตรการป้องกันโรคตามที่ทางราชการกำหนดฯ แนบท้ายประกาศฯ ฉบับที่ 15, 16 และ 17 ควบคู่กัน ซึ่งยังไม่มีประกาศฉบับใดยกเลิกมาตรการห้ามดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และการรับประทานอาหารในสถานที่ดังกล่าวต
อ่านต่อ >107

# โควิด-19 # มติชน
จากกรณีผู้ประกาศข่าวสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย หรือ NBT ติดเชื้อโควิด19 จากการยืนยันของเลขานุการกรมประชาสัมพันธ์ ตามที่นำเสนอข่าวไปก่อนหน้านี้
ซึ่งผลการติดเชื้อของผู้ประกาศคนดังกล่าวเพิ่งทราบผลเมื่อช่วงเช้าที่ผ่านมา และยังไม่สามารถระบุชัดเจนได้ว่าจำนวนผู้ที่มีความเสี่ยงสูง เสี่ยงต่ำมีทั้งหมดกี่คน เพราะยังต้องรอการสอบสวนโรคอีกครั้ง
เมื่อเวลา 12.30 น. วันที่ 22 มกราคม สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ์ (NBT 2 HD) ได้รายงานถึงกรณีที่พบ ผู้ประกาศข่าวชายของสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ์ (NBT 2 HD) ติดเชื้อโควิด19 หลังจากทราบว่าผู้กาศข่าวมีการติดเชื้อโควิด19 ทางสถานีฯ ได้มีการทำความสะอาดฆ่าเชื้อทั้งหมดแล้ว พร้อมทั้งแจกแจงไทม์ไลน์ของผู้ประกาศข่าวชายดังกล่าวตามรายงานของข่าวสด ดังนี้
วันที่ 8 มกราคม 2564 ทำงานที่บ้าน (Work From Home)
วันที่ 9 มกราคม 2564 ออกไปซื้อของที่ซูเปอร์มาร์เก็ต สวมหน้ากากอนามัยตลอดเวลา
วันที่ 10 มกราคม 2564 ทำงานที่ NBT
วันที่ 11 มกราคม 2564 ทำงานที่บ้าน (Work From Home) ช่วงเย็นมาอ่านข่าวภาคค่ำ ที่ NBT
วันที่ 12 มกราคม 2564 มาอ่านข่าวภาคค่ำ ที่ NBT
วันที่ 13 มกราคม 2564 ทำงานที่กรมประชาสัมพันธ์ มีการสวมหน้ากากอนามัย แต่ไม่ตลอดเวลา
วันที่ 14 มกราคม 2564 ทำงานที่กรมประชาสัมพันธ์ มีการสวมหน้ากากอนามัย แต่ไม่ตลอดเวลา
วันที่ 15 มกราคม 2564 ทำงานที่บ้าน (Work From Home)
วันที่ 16 มกราคม 2564 รับประทานอาหารเย็นกับเพื่อนที่ร้านย่านราชประสงค์
วันที่ 17 มกราคม 2564 อยู่ห้องพักตลอดทั้งวัน ช่วงเย็นมาอ่านข่าวภาคค่ำ ที่ NBT
วันที่ 18 มกราคม 2564 ทำงานที่กรมประชาสัมพันธ์ มีการสวมหน้ากากอนามัย แต่ไม่ตลอดเวลา
วันที่ 19 มกราคม 2564 ทำงานที่กรมประชาสัมพันธ์ ช่วงเย็นมาอ่านข่าวภาคค่ำ ที่ NBT
วันที่ 20 มกราคม 2564 ทำงานกรมประชาสัมพันธ์ อยู่ภายในห้องเดียวกับเพื่อนร่วมงาน 5 คน และมาทำงานที่ NBT
วันที่ 21 มกราคม 2564 ทำงานที่บ้าน (Work From Home)
วันที่ 22 มกราคม 2564 อยู่ที่พัก ไม่ได้เจอใคร ทราบผลว่าติดเชื้อโควิด19 เนื่องจากเพื่อนโทรมาแจ้งผลว่าติดโควิด19
สำหรับมาตรการหลังจากนี้จะมีการตรวจเชิงรุก โดยจะมีรถเก็บตัวอย่างชีวนิรภัยพระราชทาน 2 คัน ตั้งจุดให้บริการเก็บตัวอย่างสารคัดหลั่งจากกลุ่มเสี่ยงกลุ่มเป้าหมาย คือพนักงานของ NBT และกรม
อ่านต่อ >63

# ข่าวทั่วไทย # TNN ช่อง16
วันนี้ ( 22 ม.ค. 64 )นพ.ทวีศิลป์ วิษณุโยธิน โฆษกศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด19 ได้โพสต์ เฟซบุ๊กเพจ "More ทวีศิลป์" เผยให้เห็นคลิปวีดีโอขณะเข้ารับการตรวจโพรงจมูก (Nasal Swob) โดยใช้ไม้แยงจมูกเพื่อนำเอาตัวอย่างสารคัดหลั่งที่โพรงจมูกไปตรวจสอบ ที่สถาบันบำราศนราดูร ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมืองฯ จังหวัดนนทบุรี หลังจากที่ตนเองเป็นหนึ่งในผู้สัมผัสของผู้สัมผัสใกล้ชิด กับผู้ประกอบข่าวชายของสถานี NBT ที่ติดเชื้อโควิด 19 อีกทีหนึ่ง โดยหมอทวีศิลป์ระบุว่า "ประสบการณ์ตรวจหาเชื้อโควิดครั้งแรก ถูกล้วงจมูกและล้วงคอ ไม่เวอร์จิ้นแล้ว" เกาะติดข่าวที่นี่ website: www.TNNThailand.com facebook : TNNThailand facebook live : TNN Live twitter : @TNNThailand Line : @TNNONLINE Youtube Official : TNNThailand Instagram : @tnn_online TIKTOK : @tnnonline
อ่านต่อ >22

# โควิด-19 # มติชน
วันนี้ (22 มกราคม 2564) ที่กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) รศ.(พิเศษ)นพ.ทวี โชติพิทยสุนนท์ นายกสมาคมโรคติดเชื้อเด็กแห่งประเทศไทย ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ และที่ปรึกษากรมควบคุมโรค เปิดเผยถึงการบริหารจัดการวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โควิด19 ว่า วัคซีนจากบริษัท แอสตร้าเซนเนก้า ที่จะเข้ามาในประเทศไทยล็อตแรก จำนวน 50,000 โดส ในต้นเดือนกุมภาพันธ์นี้ จะดำเนินการฉีดในกลุ่มบุคลากรสาธารณสุข ด้านหน้าของการทำงานป้องกันโควิด19 ในพื้นที่เสี่ยง ได้แก่ 1.จ.สมุทรสาคร 2.อ.แม่สอด จ.ตาก และ 3.จังหวัดในภาคใต้ที่มีขอบชายแดนติดกับประเทศเพื่อนบ้าน โดยจะฉีดให้ครบทั้ง 50,000 โดส
“ทั้งนี้ ตามแผนเดิมของไทยที่จะฉีดเข็ม 2 จะต้องห่างจากเข็มแรก เป็นเวลา 4 สัปดาห์ แต่ข้อมูลจากบริษัทแอสตร้าเซนเนก้า พบว่าการฉีดในต่างประเทศ การเว้นระยะห่าง 812 สัปดาห์ กลับให้ผลดีกว่าการฉีดห่างกัน 4 สัปดาห์ ดังนั้น หากวัคซีนที่จะทยอยส่งมาให้กับไทยนั้น จึงสามารถฉีดได้ในช่วงนี้เช่นกัน ทางการแพทย์เราอยากให้ฉีดเข็มที่ 2 ห่างกัน 812 สัปดาห์ เพื่อแบ่งไปให้คนอื่นฉีดด้วย แต่ยังไงก็ต้องฉีดเข็มที่ 2 เพราะเราไม่รู้ว่าภูมิตกเมื่อไร แต่จากการศึกษาพบว่า หลังจากฉีดเข็มแรก ป้องกันได้ถึงร้อยละ 6070 ดังนั้น เราปล่อยให้เข็มแรกกระตุ้นไปก่อน สมมติว่าเชื้อมาแล้ว ตามทฤษฎีแล้ว เชื้อนั้นก็จะกลายเป็นเข็มที่ 2 แต่หากฉีดเข็มที่ 2 ก็จะต้องป้องกันขึ้นไปอีกร้อยละ 8090 แล้วก็จะเริ่มตก เป็นธรรมดาของวัคซีน” รศ.(พิเศษ)นพ.ทวี กล่าว
รศ.(พิเศษ)นพ.ทวี กล่าวว่า ส่วนการป้องกันโรคด้วยวัคซีนนั้น สามารถทำได้ตามประสิทธิภาพของวัคซีน ขณะเดียวกัน เชื้อก็ยังสามารถเข้าไปและติดเชื้อได้ เช่น ป้องกันร้อยละ 70 ก็ยังมีช่องโหว่อีกร้อยละ 30 แต่ในส่วนนี้จะเป็นชนิดที่ไม่มีอาการก็จะแพร่เชื้อน้อย ซึ่งข้อมูลตรงนี้จะมีการศึกษาต่อ และประเทศไทยหลังจากฉีดแล้ว ก็จะมีการศึกษาด้วย อะไรที่สามารถต่อยอดได้ เราก็จะต่อยอด
ผู้สื่อข่าวถามว่า มีการตั้งคำถามว่าเหตุใดถึงเลือกบริษัทแอสตร้าเซนเนก้าเพียงแห่งเดียว รศ.(พิเศษ)นพ.ทวี กล่าวว่า การเจราจาเยอะมาก แต่เขาไม่เอาเรา เพราะบริษัทผู้ผลิตต้องการให้มีการจองจำนวนมาก แล้ววางเงิน จึงจะยอมขึ้นทะเบียนในไทย รวมถึงบางแห่งที่คาดว่า จะได้วัคซีนในเดือนตุลาคมนี้ ซึ่งไม่ทันการณ์ ขณะที่ก็มีวัคซีนตัวอื่นเริ่มได้ผล ดั
อ่านต่อ >16

# โควิด-19 # ข่าวสด
ด่วน! กทม.ตรวจคนเสี่ยงสูงใกล้ชิด ‘ดีเจมะตูม’ พบติดโควิดเพิ่มอีก 5 ราย คาดกรณีนี้จะไม่ทำให้เกิดการแพร่ระบาดในวงกว้าง ขอให้ประชาชนอย่าตื่นตระหนก
เมื่อวันที่ 22 ม.ค. ที่ศาลาว่าการกทม. พล.ต.ท.โสภณ พิสุทธิวงษ์ รองผู้ว่าฯกทม. ในฐานะผู้อำนวยการศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด19) กรุงเทพมหานคร (ศบค.กทม.) เป็นประธานการประชุม ศบค.กทม. ครั้งที่ 13 โดยมีคณะผู้บริหารกรุงเทพมหานคร ผู้แทนสำนัก ผู้แทนบช.น. ผู้แทน กอ.รมน.กทม. ผู้แทนกลุ่มเขต และผู้แทนส่วนราชการในสังกัดกรุงเทพมหานครที่เกี่ยวข้อง ร่วมประชุม
พล.ต.ท.โสภณ กล่าวว่า ตามที่คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร ได้มีประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่องปิดสถานที่เป็นการชั่วคราว (ฉบับที่ 17) โดยผ่อนปรนให้สามารถเปิดสถานประกอบการ 13 ประเภทได้ ตั้งแต่วันที่ 22 ม.ค.เป็นต้นไป ขอให้คณะทำงานด้านการประสานงานการดูแลความสงบเรียบร้อย ซึ่งมีสำนักเทศกิจเป็นเลขานุการคณะทำงาน ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ สำนักงานเขตพื้นที่ กองบัญชาการตำรวจนครบาล กอ.รมน. เป็นต้น เข้มงวดตรวจตราสถานประกอบการ กิจการ กิจกรรม ที่ได้รับการผ่อนปรนให้สามารถเปิดกิจการได้ เพื่อให้คำแนะนำให้ปฏิบัติตามมาตรการมาตรการป้องกันโรคตามที่ทางราชการกำหนดเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด–19 แนบท้ายประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่องสั่งปิดสถานที่เป็นการชั่วคราว (ฉบับที่ 17) ดังกล่าวอย่างเคร่งครัด
หากพบว่าสถานประกอบการใดยังปฏิบัติได้ไม่ครบถ้วน ขอให้แนะนำ ตักเตือน แต่หากยังคงฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามให้ครบถ้วน ให้สั่งปิดกิจการเป็นการชั่วคราว 14 วัน เพื่อให้ปรับปรุงการปฏิบัติให้ครบถ้วนต่อไป รวมทั้งขอให้สำนักงานเขตประสานสถานประกอบการที่มีแรงงานต่างด้าวผิดกฎหมาย ขอให้แนะนำให้นำแรงงานต่างด้าวดังกล่าวไปขึ้นทะเบียนให้ถูกต้อง และให้สถานประกอบการทำประกันสุขภาพให้แรงงานต่างด้าวทุกคน ในส่วนสถานที่ให้บริการจัดเลี้ยง สถานที่จัดเลี้ยง รวมถึงสถานที่อื่นใดที่มีลักษณะทำนองเดียวกัน ขอให้ผู้เกี่ยวข้องทั้งผู้ตรวจแนะนำ ผู้ให้บริการ และผู้ใช้บริการในสถานที่ดังกล่าว ศึกษาประกาศฯ และมาตรการป้องกันโรคตามที่ทางราชการกำหนดฯ แนบท้ายประกาศฯ ฉบับที่ 15, 16 และ 17 ควบคู่กัน ซึ่งยังไม่มีประกาศฉบับใดยกเลิกมาตรการห้ามดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และการรับประทานอาหารในสถานที่ดังกล่าวต
อ่านต่อ >107

# โควิด-19 # มติชน
จากกรณีผู้ประกาศข่าวสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย หรือ NBT ติดเชื้อโควิด19 จากการยืนยันของเลขานุการกรมประชาสัมพันธ์ ตามที่นำเสนอข่าวไปก่อนหน้านี้
ซึ่งผลการติดเชื้อของผู้ประกาศคนดังกล่าวเพิ่งทราบผลเมื่อช่วงเช้าที่ผ่านมา และยังไม่สามารถระบุชัดเจนได้ว่าจำนวนผู้ที่มีความเสี่ยงสูง เสี่ยงต่ำมีทั้งหมดกี่คน เพราะยังต้องรอการสอบสวนโรคอีกครั้ง
เมื่อเวลา 12.30 น. วันที่ 22 มกราคม สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ์ (NBT 2 HD) ได้รายงานถึงกรณีที่พบ ผู้ประกาศข่าวชายของสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ์ (NBT 2 HD) ติดเชื้อโควิด19 หลังจากทราบว่าผู้กาศข่าวมีการติดเชื้อโควิด19 ทางสถานีฯ ได้มีการทำความสะอาดฆ่าเชื้อทั้งหมดแล้ว พร้อมทั้งแจกแจงไทม์ไลน์ของผู้ประกาศข่าวชายดังกล่าวตามรายงานของข่าวสด ดังนี้
วันที่ 8 มกราคม 2564 ทำงานที่บ้าน (Work From Home)
วันที่ 9 มกราคม 2564 ออกไปซื้อของที่ซูเปอร์มาร์เก็ต สวมหน้ากากอนามัยตลอดเวลา
วันที่ 10 มกราคม 2564 ทำงานที่ NBT
วันที่ 11 มกราคม 2564 ทำงานที่บ้าน (Work From Home) ช่วงเย็นมาอ่านข่าวภาคค่ำ ที่ NBT
วันที่ 12 มกราคม 2564 มาอ่านข่าวภาคค่ำ ที่ NBT
วันที่ 13 มกราคม 2564 ทำงานที่กรมประชาสัมพันธ์ มีการสวมหน้ากากอนามัย แต่ไม่ตลอดเวลา
วันที่ 14 มกราคม 2564 ทำงานที่กรมประชาสัมพันธ์ มีการสวมหน้ากากอนามัย แต่ไม่ตลอดเวลา
วันที่ 15 มกราคม 2564 ทำงานที่บ้าน (Work From Home)
วันที่ 16 มกราคม 2564 รับประทานอาหารเย็นกับเพื่อนที่ร้านย่านราชประสงค์
วันที่ 17 มกราคม 2564 อยู่ห้องพักตลอดทั้งวัน ช่วงเย็นมาอ่านข่าวภาคค่ำ ที่ NBT
วันที่ 18 มกราคม 2564 ทำงานที่กรมประชาสัมพันธ์ มีการสวมหน้ากากอนามัย แต่ไม่ตลอดเวลา
วันที่ 19 มกราคม 2564 ทำงานที่กรมประชาสัมพันธ์ ช่วงเย็นมาอ่านข่าวภาคค่ำ ที่ NBT
วันที่ 20 มกราคม 2564 ทำงานกรมประชาสัมพันธ์ อยู่ภายในห้องเดียวกับเพื่อนร่วมงาน 5 คน และมาทำงานที่ NBT
วันที่ 21 มกราคม 2564 ทำงานที่บ้าน (Work From Home)
วันที่ 22 มกราคม 2564 อยู่ที่พัก ไม่ได้เจอใคร ทราบผลว่าติดเชื้อโควิด19 เนื่องจากเพื่อนโทรมาแจ้งผลว่าติดโควิด19
สำหรับมาตรการหลังจากนี้จะมีการตรวจเชิงรุก โดยจะมีรถเก็บตัวอย่างชีวนิรภัยพระราชทาน 2 คัน ตั้งจุดให้บริการเก็บตัวอย่างสารคัดหลั่งจากกลุ่มเสี่ยงกลุ่มเป้าหมาย คือพนักงานของ NBT และกรม
อ่านต่อ >63

# ข่าวทั่วไทย # TNN ช่อง16
วันนี้ ( 22 ม.ค. 64 )นพ.ทวีศิลป์ วิษณุโยธิน โฆษกศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด19 ได้โพสต์ เฟซบุ๊กเพจ "More ทวีศิลป์" เผยให้เห็นคลิปวีดีโอขณะเข้ารับการตรวจโพรงจมูก (Nasal Swob) โดยใช้ไม้แยงจมูกเพื่อนำเอาตัวอย่างสารคัดหลั่งที่โพรงจมูกไปตรวจสอบ ที่สถาบันบำราศนราดูร ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมืองฯ จังหวัดนนทบุรี หลังจากที่ตนเองเป็นหนึ่งในผู้สัมผัสของผู้สัมผัสใกล้ชิด กับผู้ประกอบข่าวชายของสถานี NBT ที่ติดเชื้อโควิด 19 อีกทีหนึ่ง โดยหมอทวีศิลป์ระบุว่า "ประสบการณ์ตรวจหาเชื้อโควิดครั้งแรก ถูกล้วงจมูกและล้วงคอ ไม่เวอร์จิ้นแล้ว" เกาะติดข่าวที่นี่ website: www.TNNThailand.com facebook : TNNThailand facebook live : TNN Live twitter : @TNNThailand Line : @TNNONLINE Youtube Official : TNNThailand Instagram : @tnn_online TIKTOK : @tnnonline
อ่านต่อ >22

# โควิด-19 # มติชน
วันนี้ (22 มกราคม 2564) ที่กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) รศ.(พิเศษ)นพ.ทวี โชติพิทยสุนนท์ นายกสมาคมโรคติดเชื้อเด็กแห่งประเทศไทย ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ และที่ปรึกษากรมควบคุมโรค เปิดเผยถึงการบริหารจัดการวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โควิด19 ว่า วัคซีนจากบริษัท แอสตร้าเซนเนก้า ที่จะเข้ามาในประเทศไทยล็อตแรก จำนวน 50,000 โดส ในต้นเดือนกุมภาพันธ์นี้ จะดำเนินการฉีดในกลุ่มบุคลากรสาธารณสุข ด้านหน้าของการทำงานป้องกันโควิด19 ในพื้นที่เสี่ยง ได้แก่ 1.จ.สมุทรสาคร 2.อ.แม่สอด จ.ตาก และ 3.จังหวัดในภาคใต้ที่มีขอบชายแดนติดกับประเทศเพื่อนบ้าน โดยจะฉีดให้ครบทั้ง 50,000 โดส
“ทั้งนี้ ตามแผนเดิมของไทยที่จะฉีดเข็ม 2 จะต้องห่างจากเข็มแรก เป็นเวลา 4 สัปดาห์ แต่ข้อมูลจากบริษัทแอสตร้าเซนเนก้า พบว่าการฉีดในต่างประเทศ การเว้นระยะห่าง 812 สัปดาห์ กลับให้ผลดีกว่าการฉีดห่างกัน 4 สัปดาห์ ดังนั้น หากวัคซีนที่จะทยอยส่งมาให้กับไทยนั้น จึงสามารถฉีดได้ในช่วงนี้เช่นกัน ทางการแพทย์เราอยากให้ฉีดเข็มที่ 2 ห่างกัน 812 สัปดาห์ เพื่อแบ่งไปให้คนอื่นฉีดด้วย แต่ยังไงก็ต้องฉีดเข็มที่ 2 เพราะเราไม่รู้ว่าภูมิตกเมื่อไร แต่จากการศึกษาพบว่า หลังจากฉีดเข็มแรก ป้องกันได้ถึงร้อยละ 6070 ดังนั้น เราปล่อยให้เข็มแรกกระตุ้นไปก่อน สมมติว่าเชื้อมาแล้ว ตามทฤษฎีแล้ว เชื้อนั้นก็จะกลายเป็นเข็มที่ 2 แต่หากฉีดเข็มที่ 2 ก็จะต้องป้องกันขึ้นไปอีกร้อยละ 8090 แล้วก็จะเริ่มตก เป็นธรรมดาของวัคซีน” รศ.(พิเศษ)นพ.ทวี กล่าว
รศ.(พิเศษ)นพ.ทวี กล่าวว่า ส่วนการป้องกันโรคด้วยวัคซีนนั้น สามารถทำได้ตามประสิทธิภาพของวัคซีน ขณะเดียวกัน เชื้อก็ยังสามารถเข้าไปและติดเชื้อได้ เช่น ป้องกันร้อยละ 70 ก็ยังมีช่องโหว่อีกร้อยละ 30 แต่ในส่วนนี้จะเป็นชนิดที่ไม่มีอาการก็จะแพร่เชื้อน้อย ซึ่งข้อมูลตรงนี้จะมีการศึกษาต่อ และประเทศไทยหลังจากฉีดแล้ว ก็จะมีการศึกษาด้วย อะไรที่สามารถต่อยอดได้ เราก็จะต่อยอด
ผู้สื่อข่าวถามว่า มีการตั้งคำถามว่าเหตุใดถึงเลือกบริษัทแอสตร้าเซนเนก้าเพียงแห่งเดียว รศ.(พิเศษ)นพ.ทวี กล่าวว่า การเจราจาเยอะมาก แต่เขาไม่เอาเรา เพราะบริษัทผู้ผลิตต้องการให้มีการจองจำนวนมาก แล้ววางเงิน จึงจะยอมขึ้นทะเบียนในไทย รวมถึงบางแห่งที่คาดว่า จะได้วัคซีนในเดือนตุลาคมนี้ ซึ่งไม่ทันการณ์ ขณะที่ก็มีวัคซีนตัวอื่นเริ่มได้ผล ดั
อ่านต่อ >16