#ข่าวทั่วไทย #TNN ช่อง16
คณะกรรมการร่วมภาคเอกชน 3 สถาบัน (กกร.) เห็นด้วยกับการกับการยกระดับรายได้ของแรงงานไทยให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น แต่มีความกังวลเป็นอย่างยิ่ง ต่อนโยบายการปรับขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำเป็น 400 บาทเท่ากันทั่วประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาวะที่เศรษฐกิจโลก และเศรษฐกิจไทยมีความผันผวน และเปราะบางจากภูมิรัฐศาสตร์ ที่ส่งผลต่อประเทศและภาคธุรกิจไทยให้เผชิญกับความท้าทายรอบด้านดังนั้น กกร. จึงขอเสนอแนะแนวทางการปรับขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำที่เหมาะสม โดยคำนึงถึงบริบททางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ รวมถึงผลกระทบต่อภาคส่วนต่าง ๆ ดังต่อไปนี้1. สถานการณ์สภาพเศรษฐกิจต่อนโยบายค่าจ้างขั้นต่า 400 บาทเท่ากันทั่วประเทศ กกร. เห็นว่า การกำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ 400 บาทเท่ากันทั่วประเทศนั้น ไม่สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงของเศรษฐกิจและสังคมที่แตกต่างกันในแต่ละพื้นที่จังหวัด ซึ่งจะส่งผลกระทบเชิงลบต่อการจ้างงานของทุกภาคส่วนที่ใช้แรงงาน ทั้งทางตรง และทางอ้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผู้ประกอบการภาคเกษตร ภาคบริการ และภาคธุรกิจในทุกระดับ ซึ่งเป็นรากฐานสำคัญของเศรษฐกิจไทยอีกทั้งจากผลการพิจารณาของคณะอนุกรรมการพิจารณาค่าจ้างขั้นต่ำจังหวัด ซึ่งประกอบด้วยตัวแทนจากฝ่ายนายจ้าง ลูกจ้าง และภาครัฐ มากกว่า 90% ไม่เห็นด้วยกับการปรับขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำเป็น 400 บาทเท่ากันทั่วประเทศ และ 30% มีมติไม่ขอปรับขึ้นค่าจ้าง โดยทั้งนี้ คณะอนุกรรมการค่าจ้างจังหวัด มีมติเห็นชอบให้ปรับขึ้นค่าจ้างตามตัวแปรปัจจัยทางเศรษฐกิจ และความสามารถของแต่ละจังหวัด ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความต้องการที่แท้จริงของแต่ละพื้นที่ดังนั้น หากคณะกรรมการค่าจ้างไตรภาคีกลาง จะพิจารณาในทิศทางที่แตกต่าง และไม่สอดคล้องตามข้อเสนอของคณะอนุกรรมการฯ ควรมีหลักการสูตรคำนวณ และเหตุผลที่ชัดเจนโปร่งใส ที่สามารถชี้แจงต่อคณะอนุกรรมการไตรภาคีจังหวัด และผู้ประกอบการ/นายจ้าง ผู้มีส่วนได้เสียจำนวนมากได้นอกจากนี้ สถานการณ์ความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ที่กำลังขยายตัวรุนแรง และความไม่แน่นอนต่อสถานการณ์สงครามการค้าระหว่างประเทศของประเทศมหาอำนาจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศคู่ค้าสำคัญของไทย อาทิ สหรัฐอเมริกา ซึ่งประเทศไทยได้เปรียบดุลการค้า ยิ่งเป็นปัจจัยที่ต้องนำมาพิจารณาประกอบการตัดสินใจ เพื่อป้องกันผลกระทบทางเศรษฐกิจที่อาจเกิดขึ้น ซึ่งจะส่งผลต่อภาคธุรกิจไทยทั้งทางตรงและทางอ้อมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้2. เหตุผล และข
อ่านต่อ >23
#ข่าวทั่วไทย #TNN ช่อง16
วันนี้ (10 ธันวาคม 2567) นายคารม พลพรกลาง รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ระบุ การนวดไทยเป็นกระบวนการดูแลสุขภาพ ที่ต้องมีหลักการหรือองค์ความรู้ในการนวดตามแนวเส้นประธานสิบ ซึ่งจะช่วยให้กล้ามเนื้อผ่อนคลาย บรรเทาอาการปวดเมื่อย สำหรับการนวดไทย แบ่งออกเป็น 2 ระดับ คือ การนวดเพื่อผ่อนคลาย หรือนวดเพื่อสุขภาพ และ การนวดเพื่อการรักษา ประกอบด้วย 1. หลักสูตรนวดเพื่อสุขภาพ 150 ชั่วโมง กลุ่มนี้จะไม่มีการบิด ดัด เป็นการนวด คอ บ่า แขน ขา สะบักและหลัง วัตถุประสงค์เพื่อบรรเทาอาการปวดเมื่อยและผ่อนคลายกล้ามเนื้อ 2. หลักสูตรการนวดเพื่อการรักษา เป็นหลักสูตรการเรียนตั้งแต่ 330 ชั่วโมง 372 ชั่วโมง 800 ชั่วโมง และ 1,300 ชั่วโมง เพื่อบำบัดรักษาแต่ละกลุ่มอาการ เช่น กลุ่มปวดกล้ามเนื้อ นิ้วล็อก หัวไหล่ติด เข่าเสื่อม อัมพฤกษ์ อัมพาต เป็นต้น ส่วนผู้ให้บริการด้านการนวดมี 3 ประเภท1) ให้บริการนวดเพื่อสุขภาพ (หมอนวด) เรียน 150 ชั่วโมง อยู่ในกำกับของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ (สบส.) และผ่านพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ปฏิบัติงานในสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ ร้านนวดเพื่อสุขภาพ และสปา 2) ผู้ช่วยแพทย์แผนไทย เรียนตั้งแต่ 330 ชั่วโมง 372 ชั่วโมง 800 ชั่วโมง และ 1,300 ชั่วโมง อยู่ในกำกับของสภาการแพทย์แผนไทย ปฏิบัติงานในโรงพยาบาล และคลินิก ทั้งภาครัฐและเอกชน 3) แพทย์แผนไทย/แพทย์แผนไทยประยุกต์ ที่มีใบประกอบวิชาชีพ จากสภาการแพทย์แผนไทย ปฏิบัติงานในโรงพยาบาล และคลินิกทั้งภาครัฐและเอกชนสำหรับข้อห้ามและข้อควรระวังในส่วนผู้ให้บริการข้อห้าม ได้แก่ 1. ห้ามนวดบริเวณที่เป็นมะเร็ง 2. ผู้ที่มีไข้สูงเกิน 38.5 องศา 3.บริเวณที่มีอาการอักเสบ บวม แดง ร้อน 4. ผู้ที่มีภาวะการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ 5.กระดูกแตก หัก ปริ ร้าว ที่ยังไม่หายดี 6. โรคติดเชื้อทางผิวหนังทุกชนิด ข้อควรระวัง ได้แก่ 1. สตรีมีครรภ์ 2. ผู้ที่มีโรคประจำตัว เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง3. ใส่อวัยวะเทียมหลังผ่าตัดกระดูก 4. ผู้ที่มีภาวะกระดูกพรุน กระดูกบาง 5. ผู้ที่เพิ่งรับประทานอาหารอิ่มใหม่ ๆ (ไม่เกิน 30 นาที) และก่อนให้บริการนวดไทยหากท่านใดมีข้อสงสัย หรือสนใจข้อมูลด้านการนวดไทย สามารถสอบถามได้ที่โรงพยาบาลของรัฐทั่วประเทศ หรือFACEBOOK Line@ กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก หรือโทร 02 149 5678 ได้ในเวลาราชการ
อ่านต่อ >27
#ข่าวทั่วไทย #TNN ช่อง16
นายภาสกร บุญญลักษม์ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เปิดเผยว่า จากสถานการณ์อุทกภัยที่เกิดขึ้นในพื้นที่ภาคใต้ ส่งผลให้ประชาชนได้รับผลกระทบจากเหตุน้ำท่วมเป็นจำนวนมาก กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) จึงได้ร่วมกับคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) และผู้ให้บริการเครือข่ายมือถือทำการส่งข้อความสั้น (SMS) แจ้งเตือนอุทกภัยไปยังโทรศัพท์มือถือของประชาชน โดยในช่วงวันที่ 27-29 พ.ย. 67 ที่ผ่านมา ปภ.ได้ส่ง SMS แจ้งเตือนน้ำท่วมฉับพลัน น้ำล้นตลิ่ง น้ำป่าไหลหลาก รวม 22 พื้นที่ ใน 4 จังหวัด ได้แก่ สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ซึ่งประชาชนสามารถรับข้อความได้ทั่วถึงและเตรียมพร้อมรับมือสถานการณ์ภัยได้ สำหรับการแจ้งเตือนภัยผ่านระบบ SMS นั้น ปภ. จะใช้ระดับการแจ้งเตือนภัย 5 ระดับ ตามที่แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติกำหนด ดังนี้ ระดับ 1 (สีเขียว) ติดตามสถานการณ์ข้อมูลข่าวสาร ระดับ 2 (สีน้ำเงิน) ติดตามเฝ้าระวังสถานการณ์อย่างใกล้ชิดระดับ 3 (สีเหลือง) ให้เตรียมพร้อมรับสถานการณ์ เคลื่อนย้ายกลุ่มเปราะบาง และขนย้ายสิ่งของขึ้นที่สูง ระดับ 4 (สีส้ม) ให้อพยพและปฏิบัติตามคำแนะนำ ระดับ 5 (สีแดง) ต้องอพยพและปฏิบัติตามข้อสั่งการทันที“ปภ.ขอเน้นย้ำว่าการแจ้งเตือนอุทกภภัยผ่าน SMS ไปยังโทรศัพท์มือถือของประชาชนนั้น จะส่งข้อความแจ้งเตือนไปยังผู้ที่อยู่ในพื้นที่เสี่ยงภัยเมื่อสถานการณ์ภัยอยู่ในระดับ 3 ขึ้นไป นั่นหมายถึงว่า สถานการณ์ภัยในพื้นที่มีความเสี่ยง ที่จะก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตและความเสียหายต่อทรัพย์สินได้ ดังนั้น เมื่อท่านได้รับข้อความแจ้งเตือน ขอให้ท่านเตรียมพร้อมรับมือสถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้น เคลื่อนย้ายกลุ่มเปราะบาง อาทิ ผู้สูงอายุ เด็กเล็ก ผู้ป่วย ไปอยู่ในพื้นที่ปลอดภัย และขนย้ายสิ่งของขึ้นที่สูง ทั้งนี้ เพื่อความปลอดภัยของตัวท่านและครอบครัว และขอให้ประชาชนมั่นใจว่าข้อความแจ้งเตือนภัย จาก ปภ. ที่ท่านได้รับทางโทรศัพท์มือถือนั้น เป็นข้อความจากทางราชการ มีความปลอดภัย และมีความน่าเชื่อถืออย่างแน่นอน โดย SMS แจ้งเตือนจะส่งในนามชื่ออ DDPM เท่านั้น และระบุวัน เวลา สถานที่ ภัยที่จะเกิด ระดับความรุนแรง คำแนะการปฏิบัติตัวให้ปลอดภัย เช่น ขอให้ขนย้ายสิ่งของ ขอให้อพยพ เป็นต้น ที่สำคัญ จะไม่มีการแนบลิงก์ให้ประชาชนกดเข้าไปดำเนินการใด ๆ ทั้งสิ้น ดังนั้น ประ
อ่านต่อ >15
#ข่าวทั่วไทย #TNN ช่อง16
นายจิรายุ ห่วงทรัพย์ ที่ปรึกษาของนายกรัฐมนตรีและโฆษกศูนย์ปฏิบัติการช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย วาตภัย และดินโคลนถล่ม(ศปช.) เปิดเผยว่า เมื่อวานเย็นที่ผ่านมา นางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เรียกประชุมด่วน ศปช.โดยมี นายอนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย นายภูมิธรรม เวชยชัย รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม นายแพทย์ พรหมินทร์ เลิศสุริย์เดช เลขาธิการนายกรัฐมนตรีพร้อมทั้งปลัดกระทรวงมหาดไทยและส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง โดยนายกรัฐมนตรีมีข้อสั่งการให้ลดขั้นตอนและเร่งดำเนินการจ่ายเงินเยียวยา 9,000 บาท ทุกครัวเรือน ให้แล้วเสร็จโดยเร็วพร้อมทั้งสั่งการให้เตรียมพร้อมรับมือกับสถานการณ์ฝน ระลอกสุดท้ายภาคใต้ในช่วงปลายสัปดาห์นี้ตลอด 24 ชั่วโมง นายอนุทิน ชาญวีรกูล รอง นรม. และ รมว. มท. กล่าวในที่ประชุมว่า จากการรับข้อสั่งการของนายกรัฐมนตรีให้ลงพื้นที่ภาคใต้ตั้งแต่สัปดาห์ที่ผ่านมาพี่น้องประชาชนได้รับการแก้ไขปัญหาอย่างรวดเร็วและข้อสั่งการให้เยียวยาเบื้องต้นให้รวดเร็วนั้นพี่น้องประชาชนผู้ประสบอุทกภัยได้ขอขอบคุณมายังรัฐบาลที่เร่งแก้ไขปัญหาให้กับพื้นที่ภาคใต้ส่วนความคืบหน้าการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยในช่วงฤดูฝน ปี 2567 รัฐบาล ได้ปรับจากการจ่ายตามขั้นบันไดมาเป็นทุกครัวเรือนละ 9,000 บาททั่วประเทศ โดยกลุ่มแรก สถานการณ์ตั้งแต่วันที่ 20 พฤษภาคม - 2 พฤศจิกายน ปีนี้ อาทิ จังหวัดชัยนาท บุรีรัมย์ สมุทรสาคร และสิงห์บุรี (เป็นพื้นที่ที่ไม่ได้อยู่ในกลุ่ม 57 จังหวัดแรก) ส่วนกลุ่มที่ 2 เป็นกลุ่มจังหวัดภาคใต้ที่เกิดสถานการณ์ตั้งแต่วันที่ 3 พฤศจิกายน 2567 รวม 12 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดกระบี่ ชุมพร นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปัตตานี ประจวบคีรีขันธ์ ตรัง พัทลุง ยะลา สงขลา สตูล และสุราษฎร์ธานี รวมทั้ง 2 กลุ่ม จำนวน 667,257 ครัวเรือน (ข้อมูลวันที่ 2 ธ.ค. 67 )นายจิรายุ กล่าวต่อไปว่า รัฐบาลโดยกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย ได้รายงานต่อนายกรัฐมนตรีเมื่อวานนี้ว่า ได้สั่งการให้พื้นที่ประสบภัยทั้ง 16 จังหวัด ดำเนินการสำรวจ จัดทำบัญชี และตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล ซึ่งจังหวัดสามารถดำเนินการคู่ขนานได้ทันทีโดยไม่ต้องรอน้ำลด และทยอยส่งข้อมูลเข้ามายังกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยโดยเร็ว ตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด เพื่อทำการตรวจสอบข้อมูลและความถูกต้องอีกครั้ง
อ่านต่อ >8
#ข่าวทั่วไทย #TNN ช่อง16
คณะกรรมการร่วมภาคเอกชน 3 สถาบัน (กกร.) เห็นด้วยกับการกับการยกระดับรายได้ของแรงงานไทยให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น แต่มีความกังวลเป็นอย่างยิ่ง ต่อนโยบายการปรับขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำเป็น 400 บาทเท่ากันทั่วประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาวะที่เศรษฐกิจโลก และเศรษฐกิจไทยมีความผันผวน และเปราะบางจากภูมิรัฐศาสตร์ ที่ส่งผลต่อประเทศและภาคธุรกิจไทยให้เผชิญกับความท้าทายรอบด้านดังนั้น กกร. จึงขอเสนอแนะแนวทางการปรับขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำที่เหมาะสม โดยคำนึงถึงบริบททางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ รวมถึงผลกระทบต่อภาคส่วนต่าง ๆ ดังต่อไปนี้1. สถานการณ์สภาพเศรษฐกิจต่อนโยบายค่าจ้างขั้นต่า 400 บาทเท่ากันทั่วประเทศ กกร. เห็นว่า การกำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ 400 บาทเท่ากันทั่วประเทศนั้น ไม่สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงของเศรษฐกิจและสังคมที่แตกต่างกันในแต่ละพื้นที่จังหวัด ซึ่งจะส่งผลกระทบเชิงลบต่อการจ้างงานของทุกภาคส่วนที่ใช้แรงงาน ทั้งทางตรง และทางอ้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผู้ประกอบการภาคเกษตร ภาคบริการ และภาคธุรกิจในทุกระดับ ซึ่งเป็นรากฐานสำคัญของเศรษฐกิจไทยอีกทั้งจากผลการพิจารณาของคณะอนุกรรมการพิจารณาค่าจ้างขั้นต่ำจังหวัด ซึ่งประกอบด้วยตัวแทนจากฝ่ายนายจ้าง ลูกจ้าง และภาครัฐ มากกว่า 90% ไม่เห็นด้วยกับการปรับขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำเป็น 400 บาทเท่ากันทั่วประเทศ และ 30% มีมติไม่ขอปรับขึ้นค่าจ้าง โดยทั้งนี้ คณะอนุกรรมการค่าจ้างจังหวัด มีมติเห็นชอบให้ปรับขึ้นค่าจ้างตามตัวแปรปัจจัยทางเศรษฐกิจ และความสามารถของแต่ละจังหวัด ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความต้องการที่แท้จริงของแต่ละพื้นที่ดังนั้น หากคณะกรรมการค่าจ้างไตรภาคีกลาง จะพิจารณาในทิศทางที่แตกต่าง และไม่สอดคล้องตามข้อเสนอของคณะอนุกรรมการฯ ควรมีหลักการสูตรคำนวณ และเหตุผลที่ชัดเจนโปร่งใส ที่สามารถชี้แจงต่อคณะอนุกรรมการไตรภาคีจังหวัด และผู้ประกอบการ/นายจ้าง ผู้มีส่วนได้เสียจำนวนมากได้นอกจากนี้ สถานการณ์ความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ที่กำลังขยายตัวรุนแรง และความไม่แน่นอนต่อสถานการณ์สงครามการค้าระหว่างประเทศของประเทศมหาอำนาจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศคู่ค้าสำคัญของไทย อาทิ สหรัฐอเมริกา ซึ่งประเทศไทยได้เปรียบดุลการค้า ยิ่งเป็นปัจจัยที่ต้องนำมาพิจารณาประกอบการตัดสินใจ เพื่อป้องกันผลกระทบทางเศรษฐกิจที่อาจเกิดขึ้น ซึ่งจะส่งผลต่อภาคธุรกิจไทยทั้งทางตรงและทางอ้อมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้2. เหตุผล และข
อ่านต่อ >23
#ข่าวทั่วไทย #TNN ช่อง16
วันนี้ (10 ธันวาคม 2567) นายคารม พลพรกลาง รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ระบุ การนวดไทยเป็นกระบวนการดูแลสุขภาพ ที่ต้องมีหลักการหรือองค์ความรู้ในการนวดตามแนวเส้นประธานสิบ ซึ่งจะช่วยให้กล้ามเนื้อผ่อนคลาย บรรเทาอาการปวดเมื่อย สำหรับการนวดไทย แบ่งออกเป็น 2 ระดับ คือ การนวดเพื่อผ่อนคลาย หรือนวดเพื่อสุขภาพ และ การนวดเพื่อการรักษา ประกอบด้วย 1. หลักสูตรนวดเพื่อสุขภาพ 150 ชั่วโมง กลุ่มนี้จะไม่มีการบิด ดัด เป็นการนวด คอ บ่า แขน ขา สะบักและหลัง วัตถุประสงค์เพื่อบรรเทาอาการปวดเมื่อยและผ่อนคลายกล้ามเนื้อ 2. หลักสูตรการนวดเพื่อการรักษา เป็นหลักสูตรการเรียนตั้งแต่ 330 ชั่วโมง 372 ชั่วโมง 800 ชั่วโมง และ 1,300 ชั่วโมง เพื่อบำบัดรักษาแต่ละกลุ่มอาการ เช่น กลุ่มปวดกล้ามเนื้อ นิ้วล็อก หัวไหล่ติด เข่าเสื่อม อัมพฤกษ์ อัมพาต เป็นต้น ส่วนผู้ให้บริการด้านการนวดมี 3 ประเภท1) ให้บริการนวดเพื่อสุขภาพ (หมอนวด) เรียน 150 ชั่วโมง อยู่ในกำกับของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ (สบส.) และผ่านพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ปฏิบัติงานในสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ ร้านนวดเพื่อสุขภาพ และสปา 2) ผู้ช่วยแพทย์แผนไทย เรียนตั้งแต่ 330 ชั่วโมง 372 ชั่วโมง 800 ชั่วโมง และ 1,300 ชั่วโมง อยู่ในกำกับของสภาการแพทย์แผนไทย ปฏิบัติงานในโรงพยาบาล และคลินิก ทั้งภาครัฐและเอกชน 3) แพทย์แผนไทย/แพทย์แผนไทยประยุกต์ ที่มีใบประกอบวิชาชีพ จากสภาการแพทย์แผนไทย ปฏิบัติงานในโรงพยาบาล และคลินิกทั้งภาครัฐและเอกชนสำหรับข้อห้ามและข้อควรระวังในส่วนผู้ให้บริการข้อห้าม ได้แก่ 1. ห้ามนวดบริเวณที่เป็นมะเร็ง 2. ผู้ที่มีไข้สูงเกิน 38.5 องศา 3.บริเวณที่มีอาการอักเสบ บวม แดง ร้อน 4. ผู้ที่มีภาวะการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ 5.กระดูกแตก หัก ปริ ร้าว ที่ยังไม่หายดี 6. โรคติดเชื้อทางผิวหนังทุกชนิด ข้อควรระวัง ได้แก่ 1. สตรีมีครรภ์ 2. ผู้ที่มีโรคประจำตัว เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง3. ใส่อวัยวะเทียมหลังผ่าตัดกระดูก 4. ผู้ที่มีภาวะกระดูกพรุน กระดูกบาง 5. ผู้ที่เพิ่งรับประทานอาหารอิ่มใหม่ ๆ (ไม่เกิน 30 นาที) และก่อนให้บริการนวดไทยหากท่านใดมีข้อสงสัย หรือสนใจข้อมูลด้านการนวดไทย สามารถสอบถามได้ที่โรงพยาบาลของรัฐทั่วประเทศ หรือFACEBOOK Line@ กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก หรือโทร 02 149 5678 ได้ในเวลาราชการ
อ่านต่อ >27
#ข่าวทั่วไทย #TNN ช่อง16
นายภาสกร บุญญลักษม์ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เปิดเผยว่า จากสถานการณ์อุทกภัยที่เกิดขึ้นในพื้นที่ภาคใต้ ส่งผลให้ประชาชนได้รับผลกระทบจากเหตุน้ำท่วมเป็นจำนวนมาก กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) จึงได้ร่วมกับคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) และผู้ให้บริการเครือข่ายมือถือทำการส่งข้อความสั้น (SMS) แจ้งเตือนอุทกภัยไปยังโทรศัพท์มือถือของประชาชน โดยในช่วงวันที่ 27-29 พ.ย. 67 ที่ผ่านมา ปภ.ได้ส่ง SMS แจ้งเตือนน้ำท่วมฉับพลัน น้ำล้นตลิ่ง น้ำป่าไหลหลาก รวม 22 พื้นที่ ใน 4 จังหวัด ได้แก่ สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ซึ่งประชาชนสามารถรับข้อความได้ทั่วถึงและเตรียมพร้อมรับมือสถานการณ์ภัยได้ สำหรับการแจ้งเตือนภัยผ่านระบบ SMS นั้น ปภ. จะใช้ระดับการแจ้งเตือนภัย 5 ระดับ ตามที่แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติกำหนด ดังนี้ ระดับ 1 (สีเขียว) ติดตามสถานการณ์ข้อมูลข่าวสาร ระดับ 2 (สีน้ำเงิน) ติดตามเฝ้าระวังสถานการณ์อย่างใกล้ชิดระดับ 3 (สีเหลือง) ให้เตรียมพร้อมรับสถานการณ์ เคลื่อนย้ายกลุ่มเปราะบาง และขนย้ายสิ่งของขึ้นที่สูง ระดับ 4 (สีส้ม) ให้อพยพและปฏิบัติตามคำแนะนำ ระดับ 5 (สีแดง) ต้องอพยพและปฏิบัติตามข้อสั่งการทันที“ปภ.ขอเน้นย้ำว่าการแจ้งเตือนอุทกภภัยผ่าน SMS ไปยังโทรศัพท์มือถือของประชาชนนั้น จะส่งข้อความแจ้งเตือนไปยังผู้ที่อยู่ในพื้นที่เสี่ยงภัยเมื่อสถานการณ์ภัยอยู่ในระดับ 3 ขึ้นไป นั่นหมายถึงว่า สถานการณ์ภัยในพื้นที่มีความเสี่ยง ที่จะก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตและความเสียหายต่อทรัพย์สินได้ ดังนั้น เมื่อท่านได้รับข้อความแจ้งเตือน ขอให้ท่านเตรียมพร้อมรับมือสถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้น เคลื่อนย้ายกลุ่มเปราะบาง อาทิ ผู้สูงอายุ เด็กเล็ก ผู้ป่วย ไปอยู่ในพื้นที่ปลอดภัย และขนย้ายสิ่งของขึ้นที่สูง ทั้งนี้ เพื่อความปลอดภัยของตัวท่านและครอบครัว และขอให้ประชาชนมั่นใจว่าข้อความแจ้งเตือนภัย จาก ปภ. ที่ท่านได้รับทางโทรศัพท์มือถือนั้น เป็นข้อความจากทางราชการ มีความปลอดภัย และมีความน่าเชื่อถืออย่างแน่นอน โดย SMS แจ้งเตือนจะส่งในนามชื่ออ DDPM เท่านั้น และระบุวัน เวลา สถานที่ ภัยที่จะเกิด ระดับความรุนแรง คำแนะการปฏิบัติตัวให้ปลอดภัย เช่น ขอให้ขนย้ายสิ่งของ ขอให้อพยพ เป็นต้น ที่สำคัญ จะไม่มีการแนบลิงก์ให้ประชาชนกดเข้าไปดำเนินการใด ๆ ทั้งสิ้น ดังนั้น ประ
อ่านต่อ >15
#ข่าวทั่วไทย #TNN ช่อง16
นายจิรายุ ห่วงทรัพย์ ที่ปรึกษาของนายกรัฐมนตรีและโฆษกศูนย์ปฏิบัติการช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย วาตภัย และดินโคลนถล่ม(ศปช.) เปิดเผยว่า เมื่อวานเย็นที่ผ่านมา นางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เรียกประชุมด่วน ศปช.โดยมี นายอนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย นายภูมิธรรม เวชยชัย รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม นายแพทย์ พรหมินทร์ เลิศสุริย์เดช เลขาธิการนายกรัฐมนตรีพร้อมทั้งปลัดกระทรวงมหาดไทยและส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง โดยนายกรัฐมนตรีมีข้อสั่งการให้ลดขั้นตอนและเร่งดำเนินการจ่ายเงินเยียวยา 9,000 บาท ทุกครัวเรือน ให้แล้วเสร็จโดยเร็วพร้อมทั้งสั่งการให้เตรียมพร้อมรับมือกับสถานการณ์ฝน ระลอกสุดท้ายภาคใต้ในช่วงปลายสัปดาห์นี้ตลอด 24 ชั่วโมง นายอนุทิน ชาญวีรกูล รอง นรม. และ รมว. มท. กล่าวในที่ประชุมว่า จากการรับข้อสั่งการของนายกรัฐมนตรีให้ลงพื้นที่ภาคใต้ตั้งแต่สัปดาห์ที่ผ่านมาพี่น้องประชาชนได้รับการแก้ไขปัญหาอย่างรวดเร็วและข้อสั่งการให้เยียวยาเบื้องต้นให้รวดเร็วนั้นพี่น้องประชาชนผู้ประสบอุทกภัยได้ขอขอบคุณมายังรัฐบาลที่เร่งแก้ไขปัญหาให้กับพื้นที่ภาคใต้ส่วนความคืบหน้าการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยในช่วงฤดูฝน ปี 2567 รัฐบาล ได้ปรับจากการจ่ายตามขั้นบันไดมาเป็นทุกครัวเรือนละ 9,000 บาททั่วประเทศ โดยกลุ่มแรก สถานการณ์ตั้งแต่วันที่ 20 พฤษภาคม - 2 พฤศจิกายน ปีนี้ อาทิ จังหวัดชัยนาท บุรีรัมย์ สมุทรสาคร และสิงห์บุรี (เป็นพื้นที่ที่ไม่ได้อยู่ในกลุ่ม 57 จังหวัดแรก) ส่วนกลุ่มที่ 2 เป็นกลุ่มจังหวัดภาคใต้ที่เกิดสถานการณ์ตั้งแต่วันที่ 3 พฤศจิกายน 2567 รวม 12 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดกระบี่ ชุมพร นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปัตตานี ประจวบคีรีขันธ์ ตรัง พัทลุง ยะลา สงขลา สตูล และสุราษฎร์ธานี รวมทั้ง 2 กลุ่ม จำนวน 667,257 ครัวเรือน (ข้อมูลวันที่ 2 ธ.ค. 67 )นายจิรายุ กล่าวต่อไปว่า รัฐบาลโดยกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย ได้รายงานต่อนายกรัฐมนตรีเมื่อวานนี้ว่า ได้สั่งการให้พื้นที่ประสบภัยทั้ง 16 จังหวัด ดำเนินการสำรวจ จัดทำบัญชี และตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล ซึ่งจังหวัดสามารถดำเนินการคู่ขนานได้ทันทีโดยไม่ต้องรอน้ำลด และทยอยส่งข้อมูลเข้ามายังกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยโดยเร็ว ตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด เพื่อทำการตรวจสอบข้อมูลและความถูกต้องอีกครั้ง
อ่านต่อ >8
#ข่าวทั่วไทย #TNN ช่อง16
คณะกรรมการร่วมภาคเอกชน 3 สถาบัน (กกร.) เห็นด้วยกับการกับการยกระดับรายได้ของแรงงานไทยให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น แต่มีความกังวลเป็นอย่างยิ่ง ต่อนโยบายการปรับขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำเป็น 400 บาทเท่ากันทั่วประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาวะที่เศรษฐกิจโลก และเศรษฐกิจไทยมีความผันผวน และเปราะบางจากภูมิรัฐศาสตร์ ที่ส่งผลต่อประเทศและภาคธุรกิจไทยให้เผชิญกับความท้าทายรอบด้านดังนั้น กกร. จึงขอเสนอแนะแนวทางการปรับขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำที่เหมาะสม โดยคำนึงถึงบริบททางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ รวมถึงผลกระทบต่อภาคส่วนต่าง ๆ ดังต่อไปนี้1. สถานการณ์สภาพเศรษฐกิจต่อนโยบายค่าจ้างขั้นต่า 400 บาทเท่ากันทั่วประเทศ กกร. เห็นว่า การกำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ 400 บาทเท่ากันทั่วประเทศนั้น ไม่สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงของเศรษฐกิจและสังคมที่แตกต่างกันในแต่ละพื้นที่จังหวัด ซึ่งจะส่งผลกระทบเชิงลบต่อการจ้างงานของทุกภาคส่วนที่ใช้แรงงาน ทั้งทางตรง และทางอ้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผู้ประกอบการภาคเกษตร ภาคบริการ และภาคธุรกิจในทุกระดับ ซึ่งเป็นรากฐานสำคัญของเศรษฐกิจไทยอีกทั้งจากผลการพิจารณาของคณะอนุกรรมการพิจารณาค่าจ้างขั้นต่ำจังหวัด ซึ่งประกอบด้วยตัวแทนจากฝ่ายนายจ้าง ลูกจ้าง และภาครัฐ มากกว่า 90% ไม่เห็นด้วยกับการปรับขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำเป็น 400 บาทเท่ากันทั่วประเทศ และ 30% มีมติไม่ขอปรับขึ้นค่าจ้าง โดยทั้งนี้ คณะอนุกรรมการค่าจ้างจังหวัด มีมติเห็นชอบให้ปรับขึ้นค่าจ้างตามตัวแปรปัจจัยทางเศรษฐกิจ และความสามารถของแต่ละจังหวัด ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความต้องการที่แท้จริงของแต่ละพื้นที่ดังนั้น หากคณะกรรมการค่าจ้างไตรภาคีกลาง จะพิจารณาในทิศทางที่แตกต่าง และไม่สอดคล้องตามข้อเสนอของคณะอนุกรรมการฯ ควรมีหลักการสูตรคำนวณ และเหตุผลที่ชัดเจนโปร่งใส ที่สามารถชี้แจงต่อคณะอนุกรรมการไตรภาคีจังหวัด และผู้ประกอบการ/นายจ้าง ผู้มีส่วนได้เสียจำนวนมากได้นอกจากนี้ สถานการณ์ความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ที่กำลังขยายตัวรุนแรง และความไม่แน่นอนต่อสถานการณ์สงครามการค้าระหว่างประเทศของประเทศมหาอำนาจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศคู่ค้าสำคัญของไทย อาทิ สหรัฐอเมริกา ซึ่งประเทศไทยได้เปรียบดุลการค้า ยิ่งเป็นปัจจัยที่ต้องนำมาพิจารณาประกอบการตัดสินใจ เพื่อป้องกันผลกระทบทางเศรษฐกิจที่อาจเกิดขึ้น ซึ่งจะส่งผลต่อภาคธุรกิจไทยทั้งทางตรงและทางอ้อมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้2. เหตุผล และข
อ่านต่อ >23