5 อันดับพายุ ที่รุนแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ ที่มีผลกระทบต่อประเทศไทย
Oopsoi5
27 กันยายน 2565 ( 09:18 )
28.3K
พายุที่เกิดขึ้นสร้างความเสียหายตามระดับที่พัดผ่านเข้ามาไปยังพื้นที่ต่างๆ ล่าสุดเกิดพายุโซนร้อน"โนรู" (มีผลกระทบถึงวันที่ 1 ตุลาคม 2565) แต่ทุกท่านรู้ไหมว่าพายุดังกล่าวก็ยังไม่มีรุนแรงเท่ากับพายุหลายๆลูกที่รุนแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ภูมิภาคเรา และมีผู้เสียชีวิตเยอะที่สุด วันนี้ trueID พาไปรู้จักกับพายุดังกล่าวว่ามีความรุนแรงขนาดไหน
พายุนาร์กิสเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม ขณะนั้นมีความแรงในระดับ 2
1.พายุไซโคลนนาร์กีส
=เสียชีวิต146,000 สูญหาย 54,000 ราย
พายุนาร์กิสเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม ขณะนั้นมีความแรงในระดับ 2 เป็นพายุหมุนเขตร้อนที่มีความรุนแรงระดับสูง ซึ่งกระทำให้เกิดภาวะแผ่นดินถล่ม (landfall) และภาวะมหันตภัย (catastrophe hazard)
ก่อตัว 27 เมษายน ค.ศ. 2008
สลายตัว 3 พฤษภาคม ค.ศ. 2008
ความเร็วลมสูงสุด
เฉลี่ยลมใน 1 นาที:
215 กม./ชม. (135 ไมล์/ชม.)
ความกดอากาศต่ำสุด 962 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์)
ผู้เสียชีวิต เสียชีวิต ≥146,000 (เป็นทางการ)
สูญหาย ~54,000 ราย
ความเสียหาย 10 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ค่าเงินปี 2008)
10.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ปี 2006)
พื้นที่ได้รับผลกระทบ บังคลาเทศ พม่า อินเดีย ศรีลังกา
สลายตัว 3 พฤษภาคม ค.ศ. 2008
ความเร็วลมสูงสุด
เฉลี่ยลมใน 1 นาที:
215 กม./ชม. (135 ไมล์/ชม.)
ความกดอากาศต่ำสุด 962 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์)
ผู้เสียชีวิต เสียชีวิต ≥146,000 (เป็นทางการ)
สูญหาย ~54,000 ราย
ความเสียหาย 10 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ค่าเงินปี 2008)
10.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ปี 2006)
พื้นที่ได้รับผลกระทบ บังคลาเทศ พม่า อินเดีย ศรีลังกา
+++++
ไต้ฝุ่นไห่เยี่ยนที่ระดับความรุนแรงสูงสุดใกล้เป็นประวัติการณ์ขณะเข้าใกล้ฟิลิปปินส์ในวันที่ 7 พฤศจิกายน
2.พายุไต้ฝุ่นไห่เยี่ยน
=เสียชีวิต 6,195 ราย, 1,785 รายสูญหาย
โดยในวันที่ 6 พฤศจิกายน ศูนย์เตือนภัยไต้ฝุ่น (JTWC) ได้ปรับระดับเป็นพายุไต้ฝุ่นระดับ 5 เทียบเท่าซูเปอร์ไต้ฝุ่น
ก่อตัว 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
สลายตัว 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
ความเร็วลมสูงสุด
เฉลี่ยลมใน 10 นาที:
235 กม./ชม. (145 ไมล์/ชม.)
เฉลี่ยลมใน 1 นาที:
315 กม./ชม. (195 ไมล์/ชม.)
ความกดอากาศต่ำสุด 895 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์)
ผู้เสียชีวิต เสียชีวิต 6,195 ราย, 1,785 รายสูญหาย
ความเสียหาย อย่างน้อย 1.08 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ค่าเงินปี 2013)
พื้นที่ได้รับผลกระทบ ไมโครนีเซีย ฟิลิปปินส์ เวียดนาม จีนตอนใต้
สลายตัว 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
ความเร็วลมสูงสุด
เฉลี่ยลมใน 10 นาที:
235 กม./ชม. (145 ไมล์/ชม.)
เฉลี่ยลมใน 1 นาที:
315 กม./ชม. (195 ไมล์/ชม.)
ความกดอากาศต่ำสุด 895 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์)
ผู้เสียชีวิต เสียชีวิต 6,195 ราย, 1,785 รายสูญหาย
ความเสียหาย อย่างน้อย 1.08 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ค่าเงินปี 2013)
พื้นที่ได้รับผลกระทบ ไมโครนีเซีย ฟิลิปปินส์ เวียดนาม จีนตอนใต้
+++++
ไต้ฝุ่นลินดาขณะมีกำลังสูงสุดเข้าใกล้คาบสมุทรมาเลย์
3.พายุไต้ฝุ่นลินดา
=ผู้เสียชีวิต 3,000 รายในเวียดนาม และ 9 รายในประเทศไทย
พายุโซนร้อนลินดา เคลื่อนตัวเข้าสู่อ่าวไทย และได้ทวีความรุนแรงเป็นพายุไต้ฝุ่น ความเร็วลม 120 กม./ชม. เมื่อเวลา 10.00 น. ขณะอยู่ห่างจากเกาะสมุยประมาณ 230 กิโลเมตร
ก่อตัว 31 ตุลาคม พ.ศ. 2540
สลายตัว 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540
ความเร็วลมสูงสุด
เฉลี่ยลมใน 10 นาที:
100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.)
เฉลี่ยลมใน 1 นาที:
120 กม./ชม. (75 ไมล์/ชม.)
ความกดอากาศต่ำสุด 985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์)
ผู้เสียชีวิต เสียชีวิตอย่างน้อย 3,000 รายในเวียดนาม และ 9 รายในประเทศไทย
ความเสียหาย 385 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ค่าเงินปี 1997)
พื้นที่ได้รับผลกระทบ เวียดนาม ไทย
สลายตัว 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540
ความเร็วลมสูงสุด
เฉลี่ยลมใน 10 นาที:
100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.)
เฉลี่ยลมใน 1 นาที:
120 กม./ชม. (75 ไมล์/ชม.)
ความกดอากาศต่ำสุด 985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์)
ผู้เสียชีวิต เสียชีวิตอย่างน้อย 3,000 รายในเวียดนาม และ 9 รายในประเทศไทย
ความเสียหาย 385 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ค่าเงินปี 1997)
พื้นที่ได้รับผลกระทบ เวียดนาม ไทย
+++++
พายุไต้ฝุ่นเกย์ที่ความรุนแรงสูงสุดก่อนขึ้นฝั่งประเทศอินเดีย วันที่ 8 พฤศจิกายน 2532
4.พายุไต้ฝุ่นเกย์ หรือ พายุไซโคลนกาวาลี
=ผู้เสียชีวิต 1,060 ราย
เป็นพายุไต้ฝุ่นครั้งเลวร้ายที่สุดที่พัดถล่มคาบสมุทรมลายูรอบ 35 ปี
ก่อตัว 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532
สลายตัว 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532
ความเร็วลมสูงสุด
เฉลี่ยลมใน 1 นาที:
260 กม./ชม. (160 ไมล์/ชม.)
ความกดอากาศต่ำสุด 898 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์)
ผู้เสียชีวิต เสียชีวิต 1,060 ราย
ความเสียหาย 452 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ค่าเงินปี 1989)
พื้นที่ได้รับผลกระทบ ไทย, อินเดีย
สลายตัว 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532
ความเร็วลมสูงสุด
เฉลี่ยลมใน 1 นาที:
260 กม./ชม. (160 ไมล์/ชม.)
ความกดอากาศต่ำสุด 898 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์)
ผู้เสียชีวิต เสียชีวิต 1,060 ราย
ความเสียหาย 452 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ค่าเงินปี 1989)
พื้นที่ได้รับผลกระทบ ไทย, อินเดีย
+++++
เส้นทางการเคลื่อนตัวพายุโซนร้อนแฮเรียตขณะพัดเข้าสู่ประเทศไทย
5.พายุโซนร้อนแฮเรียต
=เสียชีวิต 911 คน บาดเจ็บ 252 คน สูญหาย 142 คน
โดยในขณะขึ้นฝั่งพายุมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 300 กิโลเมตร ก่อให้เกิดฝนตกหนัก คลื่นพายุหมุนยกซัดฝั่ง ลมกระโชกแรง และน้ำท่วมอย่างฉับพลัน
ก่อตัว 22 ตุลาคม พ.ศ. 2505
สลายตัว 30 ตุลาคม พ.ศ. 2505
ความเร็วลมสูงสุด
เฉลี่ยลมใน 1 นาที:
95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.)
ความกดอากาศต่ำสุด 1003 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์)
ผู้เสียชีวิต เสียชีวิต 911 คน บาดเจ็บ 252 คน สูญหาย 142 คน
ความเสียหาย 16 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ค่าเงินปี 1962)
พื้นที่ได้รับผลกระทบ ไทย
สลายตัว 30 ตุลาคม พ.ศ. 2505
ความเร็วลมสูงสุด
เฉลี่ยลมใน 1 นาที:
95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.)
ความกดอากาศต่ำสุด 1003 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์)
ผู้เสียชีวิต เสียชีวิต 911 คน บาดเจ็บ 252 คน สูญหาย 142 คน
ความเสียหาย 16 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ค่าเงินปี 1962)
พื้นที่ได้รับผลกระทบ ไทย
++++++++++
ข้อมูล : wikipedia
ข่าวที่เกี่ยวข้อง :
- เปิดที่มาชื่อ 'พายุ' ตั้งจากอะไร?
- เปิดรายชื่อ "พายุ" ที่เข้าไทยปี 2564
- รับมือตามนี้!เมื่อเจอ พายุฤดูร้อน อันตรายที่ต้องระวัง
- รู้จัก ระดับความรุนแรงของพายุ และชนิดของพายุ
--------------------
เกาะติดสถานการณ์โควิด-19 ทันความเคลื่อนไหว ได้ความรู้ที่ถูกต้อง ส่งตรงถึงมือคุณ
คลิกเลย!! >>> รู้ทันกันโควิด <<< หรือ กด *301*35# โทรออก
ทุกประเด็นร้อนข่าวสาร สาระ ทันเหตุการณ์ พูดคุยกันได้ 24 ชม.
คลิกเลย >>> TrueID Community <<<